ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
อุปธิกิเลสอย่างหยาบที่ทำให้เราสร้างกรรมทางกายวาจาค่ะ
อุปธิหมายถึงกิเลสและกรรมจัดเป็นกิเลสชนิดหยาบที่สุดในกิเลส๓ระดับค่ะ
(คู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะรวบรวมโดยอาจารย์(วิปัสสนา)วรรณสิทธิไวทยะเสวี)หนังสือเรียนนักธรรมชั้นโทวิชาธรรมวิภาคหมวดสามหัวข้อวิเวกอุปธิ
อุปธิ
อุปธิ
อุปธิ
กิเลสอย่างหยาบ
การต้องอาบัติค่ะ
โอวาทปาติโมกข์
อาณาวีติกกมะ
การพูดแสดงความยินดีในความดีของผู้อื่นค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา
อนุโมทนา
การแปลคำว่าอนัตตานั้นใช้ได้ทั้งคำว่าไม่มีอัตตาไม่มีตัวตนมิใช่อัตตามิใช่ตัวตนเพราะ๑สามารถแปลเข้ากันได้กับพระพุทธพจน์ที่ว่า"สพฺเพสงฺขาราอนิจฺจาสพฺเพสงฺขาราทุกฺขาสพฺเพธมฺมาอนตฺตา"นักปฏิบัติธรรมย่อมกำหนดว่า"สังขารทั้งหมดทั้งสิ้นมันเป็นสิ่งไม่เที่ยงสังขารทั้งหมดทั้งสิ้นมันเป็นตัวทุกข์สรรพสิ่งทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่ใช่ตัวตน"ดังนี้ซึ่งในพระคัมภีร์ต่างๆเช่นอภิธัมมัตถสังคหะปริจเฉทที่๘และอภิธัมมาวตารบัญญัตินิทเทสเป็นต้นท่านได้ระบุไว้ว่าไม่มีอะไรพ้นไปจากขันธ์๕นิพพานบัญญัติดังนั้นขันธ์๕จังไม่ใช่ตัวตนเพราะตัวตนไม่มีอยู่ในที่ใดๆเลย๒สามารถแปลเข้ากันได้กับสักกายทิฏฐิ๔หรือ๒๐ดังที่ตรัสไว้ทั้ง๔อย่างคือ๑ความเข้าใจผิดว่าขันธ์๕เป็นตัวตนเราเขา๒ความเข้าใจผิดว่าตัวตนเราเขามีขันธ์๕อยู่๓ความเข้าใจผิดว่ามีขันธ์๕อยู่ในตัวตนเราเขา๔ความเข้าใจผิดว่ามีตัวตนเราเขาในขันธ์๕๓ในทิฏฐิวิสุทธินิทเทสคัมภีร์วิสุทธิมรรคก็กล่าวปฏิเสธิอัตตาให้ไม่มีอยู่ในที่ใดๆโดยประการทั้งปวงฉะนั้นพึงทราบว่าสามารถแปลได้ทั้งคำว่าอนัตตตาแปลว่าไม่มีอัตตาไม่มีตัวตนมิใช่อัตตาและมิใช่ตัวตนดังอธิบายมานี่แหละค่ะ
อนัตตา
อนัตตา
อนัตตา
อนัตตา
ทั้งไม่มีตัวตนและมิใช่ตัวตน
การใส่ร้ายพระอริยะค่ะ
โอวาทปาติโมกข์
อุปวาทะ
ก็คุณวิเศษซึ่งมนุษย์ธรรมดาไม่สามารถมีหรือเป็นได้มิใช่วิสัยของมนุษย์ทั่วไปแต่เป็นวิสัยของผู้บรรลุธรรมขั้นสูงแล้วซึ่งก็คือฌานวิโมกข์สมาธิสมาบัติมรรคและผลค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุตริมนุสธรรม
อุตริมนุสธรรม
ก็ถ้าทำอนันตริยกรรมเพียงข้อเดียวมีจิตสำนึกผิดที่ได้กระทำลงไปและได้ทำกรรมดีมากมายขณะยังมีชีวิตเมื่อตายจากโลกบุญกุศลที่ทำไว้จะนำมาหักกับบาปแห่งอนันตริยกรรมก็จะได้รับการลดโทษด้วยการไม่ไปบังเกิดไปยังมหาขุมนรกอเวจีแต่จะให้ไปเกิดขุมนรกอื่นแทนแต่ต้องได้รับโทษยาวนานเช่นกันค่ะ
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
ดีมาก
ก็พอเกิดมาก็มีสภาพโตเต็มวัยเลยหน่ะค่ะโอปปาติกะ
โอปปาติกะ
โอปปาติกะ
เกิดมาแล้วโตเลย
ก็อย่างนุ่งห่มไม่เรียบร้อยส่งเสียงดังในละแวกบ้านพูดในขณะที่คำข้าวอยู่ในปากต้องกายมารดาด้วยความรักฉันมารดาค่ะ
อาบัติทุกกฏ
อาบัติทุกกฏ
อาบัติทุกกฏ
นุ่งห่ม
ก็อย่างรูปคู่กับตาหูคู่กับเสียงไรเงี้ยค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อายตนะ
อายตนะ
ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับอิฏฐารมณ์คือเมื่อมีหรือได้รับมาก็ไม่พึงยินดีติดใจหลงใหลจนเผลอสติลืมตัวลืมข้อเท็จจริงไปเมื่ออิฏฐารมณ์แปรเปลี่ยนไปจะได้ไม่ทุกข์ไม่เสียใจมากค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
คนเห็นผิดวิปลาสจากความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวงเป็นเพราะอคติทั้ง๔ต่อสิ่งทั้งปวงค่ะ
อคติ
อคติ
ความยึดมั่นความถือมั่นยึดมั่นด้วยอำนาจของกิเลสหรือความยึดมั่นถือมั่นให้เป็นไปตามอำนาจของตัณหาหรือความยึดมั่นถือมั่นตามความพึงพอใจของตัวของตนค่ะ
อุปาทาน
อุปาทาน
อุปาทาน
ยึดมั่น
ความยึดมั่นถือมั่นในคำพูดวาทุวาทะที่ใช้แสดงความเป็นของตัวเป็นของตนจึงเกิดการไปหลงคิดหลงยึดหรือจดจำสัญญาเอาอย่างเป็นจริงเป็นจังว่าเป็นของตัวของตนอย่างแท้จริงโดยไม่รู้ตัวด้วยอวิชชากล่าวคือเกิดความหลงยึดเนื่องจากวาทะการพูดจาเพื่อใช้สื่อสารกันให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันในสิ่งต่างๆในทางโลกโดยไม่รู้ตัวและซึ่งย่อมเกิดขึ้นและเป็นไปอย่างประจำสมํ่าเสมอในการดำรงชีวิตจึงเกิดการซึมซับแล้วซึมซ่านไปย้อมจิตให้หลงไปยึดไปหลงในคำพูดต่างๆเหล่านั้นว่าเป็นจริงเป็นจังอย่างจริงแท้แน่นอนเช่นคำพูดในการแสดงความเป็นเจ้าของเช่นนี่บ้านฉันนั่นรถฉันแฟนฉันสมบัติฉันนี่ของฉันจิตจึงไปหลงยึดด้วยอวิชชาความเคยชินในคำพูดที่แสดงความเป็นตัวของตนเหล่านั้นที่ใช้สื่อสารเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของในทางโลกๆเข้าไปโดยไม่รู้ตัวอยู่เป็นประจำด้วยอวิชชาค่ะ
อัตตวาทุปาทาน
คำว่าไม่ใช่ตัวตนหมายความว่าตัวตนที่แท้จริงมีอยู่แต่กลับหลงไปยึดเอาขันธ์๕ซึ่งไม่ใช่ตัวตนเข้ามาเป็นตัวตนด้วยความเข้าใจผิดเพราะไม่รู้จักตัวตนที่แท้จริงค่ะ
อัตตาและอนัตตา
อนัตตา
อนัตตา
อนัตตา
หลงยึดขันธ์
คือการที่ภิกษุแสดงตนหรือพูดให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนได้ฌานชั้นนั้นชั้นนี้ตนได้บรรลุวิโมกข์ได้สมาธิสมารถเข้าสมาบัติได้หรือสำเร็จมรรคสำเร็จผลอย่างนั้นอย่างนี้เรียกว่าอวดอุตริมนุสธรรมหรืออวดอุตริมนุษยธรรมค่ะปัจจุบันถ้อยคำดังกล่าวยังใช้เรียกผู้ชอบอวดอ้างตนเหนือกว่าคนอื่นหรือทำอะไรที่แผลงๆที่คนทั่วไปไม่ทำกันว่าอวดอุตริหรืออุตริเฉยๆอีกด้วยค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุตริมนุสธรรม
อุตริมนุสธรรม
คือไม่น่าชื่นชมน่าเกลียดน่าระอาน่ะค่ะในคำวัดใช้หมายถึงซากศพในสภาพต่างๆซึ่งท่านกำหนดเป็นอารมณ์กรรมฐานได้กล่าวไว้โดยรวม๑๐อย่างคือ๑อุทธุมาตกะซากศพทีพองขึ้นอืด๒วินีลกะซากศพที่เขียวคล้ำ๓วิปุพพกะซากศพที่มีน้ำเหลืองไหลเยิ้ม๔วิจฉิททกะซากศพที่ขาดกลางตัว๕วิกขายิตกะซากศพที่ถูกสัตว์กัดกิน๖วิกขิตตกะซากศพที่มีมือเท้าศีรษะขาดหายไป๗หตวิกขิตตกะซากศพที่ถูกบั่นเป็นท่อนๆ๘โลหิตกะซากศพที่ถูกประหารมีเลือดไหลนอง๙ปุฬุวกะซากศพที่เน่าเฟะคลาคล่ำด้วยตัวหนอน๑๐อัฏฐิกะซากศพที่เหลือแต่โครงกระดูกและนิยมใช้คู่กับคำอื่นๆที่เกี่ยวข้องกันเช่นอสุภกถาอสุภกรรมฐานอสุภนิมิตอสุภาวนาอสุภสัญญาเป็นต้นค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อสุภ
อสุภ
อสุภ
อสุภ
น่าเกลียด
คู่ที่๑พระผู้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติมรรคโสดาปัตติผลคู่ที่๒พระผู้ตั้งในสกิทาคามิมรรคสกิทาคามิผลคู่ที่๓พระผู้ตั้งอยู่ในอนาคามิมรรคอนาคามิผลคู่ที่๔พระผู้ตั้งอยู่ในอรหัตมรรคอรหัตผล
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล
อริยบุคคล
ค่ะมีข้อสังเกตคือในเวลานั้นพระพุทธเจ้ายังไม่ได้ทรงบัญญัติพระวินัยปาติโมกข์ฉะนั้นที่ตรัสให้สำรวมในพระปาติโมกข์จึงมีความหมายคือปาติโมกข์ที่เป็นตัวแบบฉบับอันควรที่สมณะจะพึงปฏิบัติโดยทั่วไปพระโอวาททั้งหมดนี้เรียกว่าพระโอวาทปาติโมกข์ปาติโมกข์ที่เป็นโอวาทพระพุทธเจ้าได้ตรัสแก่พระอรหันต์ทั้งนั้นจึงมิได้มุ่งที่จะอบรมให้ท่านบรรลุมรรคผลแต่ว่ามุ่งที่จะวางแนวพระพุทธศาสนาหน่ะค่ะ
คลังความรู้ปกิณกธรรมวันมาฆบูชาโอวาทปาติโมกข์หัวใจพระพุทธศาสนาโอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
เป็นตัวแบบฉบับ
ค่ะอุโบสถยังหมายถึงสถานที่ที่พระสงฆ์ประชุมทำสังฆกรรมตามพระวินัยเรียกตามคำวัดว่าอุโบสถาคารบ้างอุโบสถัคค่ะบ้างแต่เรียกโดยทั่วไปว่าโบสถ์การเข้าจำคือการรักษาศีล๘ของอุบาสกอุบาสิกาในวันขึ้นและแรม๘ค่ำ๑๕ค่ำเรียกว่ารักษาอุโบสถและรักษาอุโบสถศีลวันพระหรือวันฟังธรรมของคฤหัสวันขึ้นและแรม๘ค่ำ๑๕ค่ำซึ่งเป็นวันที่คฤหัสถ์รักษาอุโบสถกันเรียกว่าวันอุโบสถวันที่พระสงค์ลงฟังพระปาติโมกข์ทุกกึ่งเดือนเรียกว่าวันอุโบสถการสวดพระปาติโมกข์ทุกกึ่งเดือนหรือทุกวันอุโบสถของพระสงฆ์เรียกว่าการทำอุโบสถโบสถ์เป็นคำเรียกสถานที่สำหรับพระสงฆ์ใช้ประชุมกันทำสังฆกรรมตามพระวินัยเช่นสวดพระปาติโมกข์ให้อุปสมบทมีสีมาเป็นเครื่องบอกเขตคำว่าโบสถ์เป็นคำที่ใช้เฉพาะในพระพุทธศาสนาโบสถ์เรียกเต็มคำว่าอุโบสถหรือโรงอุโบสถถ้าเป็นของพระอารามหลวงเรียกว่าพระอุโบสถบางถิ่นเรียกว่าสีมาหรือสิมโบสถ์เป็นสถานที่ศักดิ์ศิทธิ์เป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้าเป็นเขตแดนที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานให้แก่สงฆ์เป็นพิเศษเรียกว่าวิสุงคามสีมาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุโบสถ
อุโบสถ
อุโบสถ
อุโบสถ
อุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีล
ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตลักทรัพย์ประพฤติผิดในกามพูดเท็จพูดส่อเสียดพูดคำหยาบพูดเพ้อเจ้อคิดโลภมากคิดพยาบาทมีความเห็นผิดอกุศลกรรมบถ๑๐ประกอบด้วยอะไรบ้าง
อกุศลกรรมบถ
อกุศลกรรมบถ
มีฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
จบแล้วค่ะ
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ