| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ตรงข้ามกับอิฏฐารมณ์ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์

     ตรัสรู้ได้ด้วยการฟังคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธะจนรู้ตามและสอนให้ผู้อื่นรู้ตามได้ค่ะ อนุพุทธะ อนุพุทธะ

     ตามกฎมหาเถรสมาคมนั้นได้กำหนดให้เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลหนึ่งให้มีพระอุปัชฌาย์เพียงหนึ่งรูปเว้นแต่มีกรณีพิเศษค่ะ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ ตำบลหนึ่งให้มีหนึ่งรูป

     ทำให้เป็นคนประมาทขาดสติเห็นแก่ตัวปฏิเสธบุญบาปปฏิเสธนรกสวรรค์ทำอะไรโดยไม่กลัวบาปกรรมมุ่งแต่หาความสุขในกามรมณ์เบียดเบียนแก่งแย่งกันและกันรบราฆ่าฟันกันเพื่อความเป็นใหญ่มีแต่จะคิดใช้ชีวิตให้คุ้มค่าก่อนที่จะตายไปค่ะ อุจเฉททิฐิ ชีวิตหลังความตาย ตาย ความตาย แล้วสูญไม่กลัวบาปกรรม

     ทำได้ด้วยการพูดเขียนหนังสือหรือแสดงกิริยาก็ได้เช่นเมื่อได้ยินเสียงย่ำฆ้องกลองที่วัดในตอนเย็นแสดงว่าพระท่านทำวัตรเย็นจบก็ยกมือขึ้นประนมไหว้เปล่งวาจาว่าสาธุเป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัดหรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบทราบแล้วยกมือขึ้นสาธุเป็นการอนุโมทนาบุญของเขาด้วยค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา

     ที่เป็นอนาสวะเป็นโลกุตระเป็นองค์มรรคฯ ? อนาสวะ

     ธรรมที่ทำให้เป็นผู้ว่ายาก๑๖ประการ มหาปวารณา อนุมานสูตร อนุมานสูตร อนุมานสูตร ผู้ว่ายาก๑๖ประการ

     บทสามัญญานุโมทนากถาก็บทที่เริ่มต้นด้วยสัพพีไงคะมีชื่อเรียกว่าบทสามัญญานุโมทนาคาถาค่ะหมายถึงคาถาที่พระสงฆ์ใช้สวดทุกครั้งที่อนุโมทนาในบุญกุศลที่เราได้ทำแล้วน่ะค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา สามัญญานุโมทนากถา อนุโมทนา สัพพี

     บทอนุโมทนารัมภกถาก็บทที่เริ่มต้นด้วยยถาไงคะมีชื่อเรียกว่าบทอนุโมทนารัมภคาถาค่ะคาถาที่เริ่มก่อนการอนุโมทนาหน่ะค่ะกล่าวคือก่อนที่พระสงฆ์จะอนุโมทนาในบุญกุศลที่เราได้ทำแล้วพระสงฆ์จะกล่าวบทอนุโมทนารัมภคาถานี้เพื่อให้เราได้เตรียมตัวตั้งใจรับพรสืบไปค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา อนุโมทนารัมภกถา อนุโมทนา บทสวดเริ่มต้น

     บุญที่เกิดจากการอนุโมทนาไงล่ะค้า~ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา

     พระอรหันต์คือผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนาพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดสามารถละสังโยชน์ได้ครบ๑๐ประการค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล พระอรหันต์ พระอรหันต์ พระอรหันต์ ธรรมที่ยิ่งใหญ่

     พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก๒อย่างคือเป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธีบรรพชาอุปสมบทและเป็นผู้รับปกครองดูแลแนะนำตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตนบวชให้เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตรน่ะค่ะ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ เป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวช

     มี๔อย่างคือกามได้แก่ความติดใจรักใคร่อยู่ในกามคุณภพได้แก่ความติดอยู่ในภพความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ทิฏฐิได้แก่ความเห็นผิดความหัวดื้อหัวรั้นอวิชชาได้แก่ความไม่รู้จริงความลุ่มหลงมัวเมาค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาสวกิเลส อาสวกิเลส อาสวกิเลส อาสวกิเลส มี๔อย่าง

     มี๖อย่างคือ๑อิทธิวิธิแสดงฤทธิ์ได้เช่นล่องหนได้เหาะได้ดำดินได้๒ทิพพโสตมีหูทิพย์๓เจโตปริยญาณกำหนดรู้ใจผู้อื่นได้๔ปุพเพนิวาสานุสติญาณระลึกชาติได้๕ทิพพจักขุมีตาทิพย์๖อาสวักขยญาณรู้การทำอาสวะให้สิ้นไปทั้งนี้และทั้งนั้นอภิญญา๕ข้อแรกเป็นของสาธารณะหรือโลกียญาณแต่สำหรับข้อ๖มีเฉพาะในพระอริยบุคคลเท่านั้นค่ะดังนั้นถ้าพบผู้แสดงฤทธิ์ได้อย่าพึ่งหมายว่าผู้นั้นจะเป็นอริยบุคคลนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อภิญญา อภิญญา อภิญญา อภิญญา มี๖อย่าง

     มี๗อย่างค่ะอาบัติ อาบัติ อาบัติ ๗อย่าง

     มีสังฆเภทอันเดียวค่ะ อนันตริยกรรม อสาธารณอนันตริยกรรม อสาธารณอนันตริยกรรม อสาธารณอนันตริยกรรม ทำสังฆเภท

     ยถาให้ผีสัพพีให้คนค่า~ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา

     ลักษณะของผู้มีอุเบกขาคือเป็นคนหนักแน่นมีสติอยู่เสมอไม่ดีใจไม่เสียใจจนเกินเหตุเป็นคนยุติธรรมยึดหลักความเป็นผู้ใหญ่รักษาความเป็นกลางไว้ได้มั่นคงไม่เอนเอียงเข้าข้างปฏิบัติหน้าที่ด้วยเหตุผลถูกต้องคลองธรรมและเป็นผู้วางเฉยได้เมื่อไม่อาจประพฤติเมตตากรุณาหรือมุทิตาได้ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุเบกขา อุเบกขา อุเบกขา อุเบกขา เป็นคนหนักแน่นมีสติอยู่เสมอ

     วาจาประกาศความเป็นผู้สูงสุดค่ะ วันวิสาขบูชา อาสภิวาจา อาสภิวาจา อาสภิวาจา วาจาประกาศความเป็นผู้สูงสุด

     วิธีการที่ธรรมทูตผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาถือเป็นกลยุทธได้แก่วิธีการทั้ง๖๑การไม่กล่าวร้ายคือเผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่กล่าวร้ายโจมตีดูถูกความเชื่อผู้อื่น๒การไม่ทำร้ายคือเผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่ใช้กำลังบังคับข่มขู่ด้วยวิธีการต่างๆ๓ความสำรวมในปาติโมกข์คือรักษาความประพฤติให้น่าเลื่อมใส๔ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหารคือเสพปัจจัยสี่อย่างรู้ประมาณพอเพียง๕ที่นั่งนอนอันสงัดคือสันโดษไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ๖ความเพียรในอธิจิตคือพัฒนาจิตใจเสมอมิใช่ว่าเอาแต่สอนแต่ตนเองไม่กระทำตามที่สอน โอวาทปาติโมกข์ โอวาทปาติโมกข์

     วิธีการสงบระงับอธิกรณ์การทะเลาะมีเรื่องมีราวกันในหมู่สงฆ์มี๗อย่างเรียกสัตตาธิกรณสมถะอธิกรณสมถะ

     สถานที่จาริกแสวงบุญของชาวพุทธปัจจุบันหลักฐานที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาของเมืองแห่งนี้ได้สูญหายไปแทบหมดสิ้นเนื่องด้วยเมืองแห่งนี้มีพัฒนาการมาโดยตลอดช่วงประวัติศาสตร์เป็นไปได้ว่าผู้คนในยุคหลังช่วงความเจริญของพระพุทธศาสนาได้ทำลายหรือทอดทิ้งพุทธศาสนสถานไปและถูกฝังกลบจนไม่เหลือร่องรอยให้เห็นเช่นเดียวกับอโศการามสถานที่นี้เคยเป็นที่ทำตติยสังคายนาอารามแห่งเดียวในพระพุทธศาสนาในเมืองปัฏนาที่ยังคงเหลือซากอยู่ปัจจุบันคงเหลือเพียงเสาหินของอาคารใหญ่ที่พระเจ้าอโศกทรงสร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ทำตติยสังคายนาอยู่บ้างแต่ส่วนใหญ่จมอยู่ใต้ดินในสระซึ่งมีน้ำเต็มตลอดทั้งปีและโบราณสถานส่วนใหญ่ยังคงจมอยู่ใต้ดินแต่ทางการอินเดียไม่มีความประสงค์เพื่อขุดค้นโบราณสถานแห่งนี้เพราะจะกระทบต่อบ้านเรือนที่ตั้งอยู่ในเมืองปัฏนาเมืองหลวงของรัฐพิหารในปัจจุบันอโศการาม

     สบงผ้านุ่งจีวรผ้าห่มสังฆาฏิผ้าซ้อนบาตรมีดโกนเข็มประคดเอวธมกรกที่กรองน้ำซึ่งจำเป็นในการเตรียมการบวชเช่นคำพูดของเพื่อนบ้านถามแม่ของนาคซึ่งเตรียมจะบวชว่าบวชลูกคราวนี้ไปซื้ออัฐบริขารมาหรือยังอัฐบริขารในวงการพระจำกันว่าผ้า๔เหล็ก๓น้ำ๑ผ้า๔คือสบงจีวรสังฆาฏิประคดคาดเอวเหล้ก๓คือบาตรมีดโกนเข็มน้ำ๑คือธมกรกอัฐบริขารมีอะไรบ้าง อัฐบริขาร อัฐบริขาร ผ้า๔เหล็ก๓น้ำ๑



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ