ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
สาธารณอนันตริยกรรมคือเป็นอนันตริยกรรมที่ทั่วไปแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ทั้งหลายหมายความว่าบรรพชิตก็ทำได้คฤหัสถ์ก็ทำได้ค่ะ
อนันตริยกรรม
สาธารณอนันตริยกรรม
สาธารณอนันตริยกรรม
สาธารณอนันตริยกรรม
ที่ทั่วไปแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์
หนังสือรับรองการบริจาคที่วัดออกให้แก่ผู้บริจาคทรัพย์ทำบุญไงคะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา
อนุโมทนา
หมายถึงการแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา
อนุโมทนา
อนุโมทนา
อนุโมทนา
ยินดีในความดีผู้อื่น
หมายถึงความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่วต่อผลของความทุจริตที่ทำไว้เป็นอาการของจิตที่หวั่นไหวเมื่อจะทำความชั่วเพราะกลัวความผิดที่จะตามให้ผลในภายหลังเกิดขึ้นได้เพราะคิดถึงโทษหรือความทุกข์ที่จะเกิดขึ้นจากการทำชั่วจากการประพฤติทุจริตของตนเช่นตัวเองเองต้องเดือดร้อนเกิดความเสียหายเสียทรัพย์สินเงินทองเสียอิสรภาพหรือถูกคนอื่นตำหนิติเตียนถูกสังคมรังเกียจเป็นต้นโอตตัปปะเป็นธรรมคุ้มครองโลกคู่กับหิริเพราะคนที่มีโอตตัปปะย่อมกลัวที่จะทำความผิดทำให้งดเว้นจากการประพฤติต่างๆได้อันเป็นเหตุให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขเกิดสันติภาพขึ้นค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โอตตัปปะ
โอตตัปปะ
หมายถึงปัญญาความรู้ที่สูงเหนือกว่าปกติเป็นความรู้พิเศษที่เกิดขึ้นจากการอบรมจิตเจริญปัญญาหรือบำเพ็ญกรรมฐานในคำวัดยังหมายถึงคุณสมบัติพิเศษของพระอริยบุคคลซึ่งเป็นเหตุให้มีอิทธิฤทธิ์ต่างๆด้วยค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อภิญญา
อภิญญา
อภิญญา
อภิญญา
ความรู้ที่สูงกว่าปกติ
หมายถึงสิ่งที่คนไม่ปรารถนาไม่ต้องการอยากได้ไม่อยากมีไม่อยากพบเห็นได้แก่กามคุณ๕คือรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสที่ไม่ดีไม่ชวนให้รักให้ชอบใจและโลกธรรมในส่วนที่ไม่ดี๔คือเสื่อมลาภเสื่อมยศนินทาทุกข์เป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคนแม้ไม่ต้องการแต่มีความจริงว่าอนิฏฐารมณ์เป็นสิ่งไม่เที่ยงทนอยู่ในสภาพนั้นๆไม่ได้นานมีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดาเกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้เช่นเดียวกับสิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์น่ะค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนิฏฐารมณ์
อนิฏฐารมณ์
หมายถึงโทษที่เกิดจาการล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุใช้เรียกความผิดทางวินัยของพระภิกษุว่าต้องอาบัติค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
ความผิดทางวินัยของพระภิกษุ
หรือกรรมตัดรอนก็กรรมที่มาทำให้เสียชีวิตทั้งๆที่ยังไม่หมดอายุขัยตายไปก็กลายเป็นสัมภเวสีอีกต่างหากค่ะ
?
อุปฆาตกกรรม
หรืออพยาบาทวิตกคือดำริในอันไม่พยาบาทความดำริที่ไม่มีความเคียดแค้นชิงชังขัดเคืองหรือเพ่งมองในแง่ร้ายต่างๆโดยเฉพาะมุ่งเอาธรรมที่ตรงข้ามคือเมตตากรุณาซึ่งหมายถึงความปรารถนาดีความมีไมตรีต้องการให้ผู้อื่นมีความสุขจัดเป็นความนึกคิดที่ปราศจากโทสะอพยาบาทสังกัปป์
หรืออพยาบาทวิตกคือดำริในอันไม่พยาบาทความดำริที่ไม่มีความเคียดแค้นชิงชังขัดเคืองหรือเพ่งมองในแง่ร้ายต่างๆโดยเฉพาะมุ่งเอาธรรมที่ตรงข้ามคือเมตตากรุณาซึ่งหมายถึงความปรารถนาดีความมีไมตรีต้องการให้ผู้อื่นมีความสุขจัดเป็นความนึกคิดที่ปราศจากโทสะอวิหิงสาสังกัปป์
อกตัญญูคือผู้ระลึกไม่ได้ว่าใครเคยทำดีเคยช่วยเหลือเกื้อกูลตนมาผู้ลืมบุญคุณของคนอื่นที่ทำแก่ตนมาผู้ไม่ยอมรับบุญคุณของใครทั้งนั้นเรียกว่าคนอกตัญญูมีลักษณะตรงข้ามกับคนกตัญญูอกตัญญูมีลักษณะลบหลู่บุญคุณคนไม่ปรารถนาที่จะตอบแทนความดีของใครชอบลืมเรื่องที่เขาเคยทำเคยช่วยเหลือตนมาแต่ก็ไม่มีความรู้สึกอิ่มที่จะรับจากคนอื่นอีกหากยังมีช่องทางจะได้จากเขาอีกก็จะพอใจหากเห็นว่าหมดโอกาสแล้วก็จะตีจากไปทันทีหรือไม่ก็แสดงกิริยาพูดจาให้ร้ายต่างๆท่านจึงว่า"แม้จะยกแผ่นดินทั้งหมดให้แก่คนอกตัญญูก็จะให้เขายินดีพอใจไม่ได้"
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกตัญญู
อกตัญญู
อกตัญญูแปลว่าผู้ไม่รู้สึกถึงบุญคุณที่ผู้อื่นทำแก่ตนผู้ไม่มีความกตัญญูค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกตัญญู
อกตัญญู
อกาลิโกหมายความว่าพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้นให้ผลแก่ผู้ปฏิบัติโดยไม่จำกัดกาลเวลาไม่ขึ้นกับกาลเวลาให้ผลทุกเมื่อทุกโอกาสให้ผลตามลำดับแห่งการปฏิบัติคือได้บรรลุเมื่อใดก็ได้รับผลเมื่อนั้นได้บรรลุถึงระดับใหนก็ให้ผลในระดับเมื่อนั้นทั้งความจริงความแท้แห่งพระธรรมนี้ไม่มีกำหนดอายุกาลจริงแท้อยู่ตลอดกาลจริงแท้อย่างนั้นทุกยุคทุกสมัยด้วยเหตุนี้พระธรรมจึงได้ชื่อว่าอกาลิโกอกาลิโกยังเป็นธรรมคุณคือคุณของพระธรรมประการที่๓ในจำนวน๖ประการอีกด้วยนะคะ
อกาลิโก
อกาลิโก
อกาลิโกแปลว่า(พระธรรม)ไม่ประกอบด้วยกาล
อกาลิโก
อกาลิโก
อกุศลกรรมหมายถึงความชั่วสิ่งที่ไม่ดีใช้แทนคำว่าบาปก็ได้บางครั้งก็ใช้คู่กันไปเป็นบาปอกุศลและเป็นคำตรงกันข้ามกับคำว่ากุศลซึ่งแปลว่าความดีค่ะอกุศลกรรมยังเป็นคำที่ถูกนำมาใช้นำหน้าคำอื่นมากและทำให้มีความหมายไปในทางที่ไม่ดีเช่นอกุศลกรรมหมายถึงความชั่วบาปอกุศลกรรมบทหมายถึงทางแห่งความชั่วทางบาปอกุศลจิตหมายถึงจิตชั่วความคิดชั่วอกุศลเจตนาหมายถึงเจตนาไม่ดีอกุศลมูลหมายถึงรากเหง้าแห่งความชั่วได้แก่โลภะโทสะโมหะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกุศล
อกุศล
อกุศล
อกุศล
สิ่งที่ไม่ดี
อกุศลกรรมหมายถึงบาปกรรมชั่วความชั่วร้ายความเสียหายความไม่ถูกต้องซึ่งให้ผลเป็นความทุกข์เป็นสิ่งที่ควรเว้นการกระทำบาปกระทำความชั่วเรียกว่าทำอกุศลกรรมเรียกย่อว่าทำอกุศลหรือเรียกว่าทำบาปอกุศลค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
ให้ผลเป็นความทุกข์
อกุศลกรรมเกิดมาจากอกุศลมูลอย่างใดอย่างหนึ่งใน๓อย่างคือโลภะโทสะโมหะเพราะเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นแล้วก็เป็นเหตุชักนำใจให้คิดทำอกุศลกรรมเช่นเมื่อโลภะเกิดขึ้นก็เป็นเหตุให้คิดอยากได้เมื่ออยากได้ก็แสวงหาเมื่อไม่ได้ตามต้องการด้วยวิธีสุจริตก็เป็นเหตุให้ทำอกุศลกรรมอื่นต่อไปเช่นลักขโมยปล้นจี้ฉ้อโกงเป็นต้น
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
โลภะโทสะโมหะ
อกุศลกรรมแปลว่ากรรมที่เป็นอกุศลกรรมไม่ดีการกระทำของคนไม่ฉลาด
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
อกุศลกรรม
กรรมไม่ดี
อคติหมายถึงไม่ควรประพฤติในประเทศเราใช้ในความหมายว่าลำเอียงมี๔คือฉันทาคติโทสาคติภยาคติและโมหาคติค่ะ
อคติ
อคติ
อคติ
หิริ
ไม่ควรประพฤติ
อคติแปลว่าไม่ควรถึงค่ะ
อคติ
อคติ
อธิปัญญาสิกขาคือการที่ภิกษุได้บรรลุจตุตถฌานแล้วนั่งเข้าฌานด้วยจิตอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้วเธอมีจิตบริสุทธิ์ผ่องแผ้วควรแก่การงานตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้วก็โน้มน้อมจิตไปเพื่อญานทัสสนะจนได้บรรลุวิชชาหรือเห็นประจักษ์ซึ่งสามัญญผลที่สูงขึ้นดียิ่งขึ้นตามลำดับคือวิปัสสนาญานมโนมยิทธิญานอิทธิวิธิญานทิพพโสตธาตุญานเจโตปริยญานปุพเพนิวาสานุสสติญานทิพพจักขุญานและอาสวักขยญานรู้ชัดตามความเป็นจริงว่านี้คือทุกข์นี้คือทุกขสมุทัยนี้คือทุกขนิโรธนี้คือทุกขนิรธิคามินีปฏิปทานี้คืออาสวะนี้คือเหตุให้เกิดอาสวะนี้คือความดับอาสวะนี้คือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะปฏิบัติดังนี้แลที่เรียกว่าอธิปัญญาสิกขาค่ะ
อธิปัญญาสิกขา
อธิปัญญาสิกขา
อธิปัญญาสิกขาคือการปฏิบัติเพื่อเจริญปัญญาให้สูงขึ้นจนตัดกิเลสได้เด็ดขาดเป็นข้อหนึ่งในไตรสิกขาคืออธิศีลสิกขาอธิจิตสิกขาอธิปัญญาสิกขาค่ะ
อธิปัญญาสิกขา
อธิปัญญาสิกขา
อธิปัญญาสิกขาแปลว่าการศึกษาในอธิปัญญาค่ะ
อธิปัญญาสิกขา
อธิปัญญาสิกขา
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ