| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     อธิษฐานอุโบสถหมายถึงอุโบสถที่ทำด้วยการอธิษฐานใช้เรียกการทำอุโบสถของภิกษุรูปเดียวกล่าวคือในกรณีปกติจะรวมกันทำอุโบสถร่วมกันเป็นสังฆกรรมแต่ในกรณีที่ในวัดมีภิกษุรูปเดียวและไม่มีภิกษุอื่นมาร่วมทำอุโบสถให้ครบองค์สงฆ์ด้วยเมื่อรอจนหมดเวลาแล้วทรงอนุญาตให้ภิกษุนั้น้ทำอุโบสถรูปเดียวได้โดยการอธิษฐานว่า "อัชชะเมอุโปสโถ"แปลว่า"วันนี้เป็นวันอุโบสถของเรา"และอธิษฐานอุโบสถที่ทำเช่นนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าปุคคลอุโบสถค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อธิษฐานอุโบสถ อธิษฐานอุโบสถ

     อนัตตตาหรืออนัตตลักษณะคืออาการของอนัตตาอาการของสิ่งที่ไม่ใช่ตัวตนอาการที่ไม่มีตัวตนอาการที่แสดงถึงความไม่ใช่ใครไม่ใช่ของใครไม่อยู่ในอำนาจควบคุมของใครอาการที่แสดงถึงไม่มีตัวตนที่แท้จริงของมันเองอาการที่แสดงถึงความไม่มีอำนาจแท้จริงในตัวเลยอาการที่แสดงถึงความด้อยสมรรถภาพโดยสิ้นเชิงไม่มีอำนาจกำลังอะไรต้องอาศัยพึงพิงสิ่งอื่นๆมากมายจึงมีขึ้นได้ไตรลักษณ์

     อนัตตากับอนัตตลักษณะเป็นคนละอย่างกันเพราะเป็นลักขณวันตะและลักขณะของกันและกันอนัตตลักษณะทำให้เราทราบได้ว่าขันธ์๕ไม่มีตัวตนไร้อำนาจไม่มีเนื้อแท้แต่อย่างใดได้แก่อาการที่ไร้อำนาจบังคับตัวเองให้ไม่เปลี่ยนแปลงไปของขันธ์๕เช่นอาการที่ขันธ์๕บังคับตนไม่ให้เกิดขึ้นไม่ได้ไม่ให้เสื่อมสิ้นไปเป็นขันธ์๕อันใหม่ไม่ได้อาการที่ขันธ์๕บังคับตนไม่ให้มีขึ้นไม่ได้ไม่ให้กลับไปไม่มีอีกครั้งไม่ได้บังคับให้ไม่หมดไปไม่ได้เป็นต้นในวิสุทธิมรรคท่านได้ยกอนัตตลักษณะจากปฏิสัมภิทามรรคมาแสดงไว้๕แบบเรียกว่าโต๕และในพระไตรปิฎกยังมีการแสดงอนัตตลักษณะไว้ในแบบอื่นๆอีกมากมายแต่คัมภีร์ที่รวบรวมไว้เป็นเบื้องต้นเหมาะสำหรับเป็นคู่มือสำหรับปฏิบัติธรรมได้แก่คัมภีร์ปฏิสัมภิทามรรคเพราะสามารถจะจำคำที่คนโบราณใช้กำหนดกันจากคัมภีร์นี้แล้วนำไปใช้ได้ทันทีดังที่ท่านแสดงไว้เป็นต้นว่า"จกฺขุอหุตฺวาสมฺภูตํหุตฺวานภวิสฺสตีติววตฺเถติ"นักปฏิบัติธรรมย่อมกำหนดว่า"จักขุปสาทที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้นพอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"เป็นต้น อนัตตา อนัตตา อนัตตา อนัตตา คนละอย่างกับอัตตา

     อนัตตาที่ขันธ์๕ได้ชื่อนี้เพราะมีอนัตตลักษณะดังนี้ค่ะ๑เป็นสภาพว่างเปล่าคือหาสภาวะที่แท้จริงไม่ได้เพราะประกอบด้วยธาตุ๔เมื่อแยกธาตุออกสภาวะที่แท้จริงก็ไม่มี๒หาเจ้าของมิได้คือไม่มีใครเป็นเจ้าของแท้จริงสงวนรักษามิให้เปลี่ยนแปลงไม่ได้๓ไม่อยู่ในอำนาจคือไม่อยู่ในบัญชาของใครใครบังคับไม่ได้เช่นบังคับมิให้แก่ไม่ได้๔แย้งต่ออัตตาคือตรงข้ามกับอัตตา อนัตตา อนัตตา อนัตตา อนัตตา ตรงข้ามกับอัตตา

     อนัตตาแปลว่าไม่ใช่ตัวตนค่ะ อัตตาและอนัตตา อนัตตา อนัตตา อนัตตา ไม่ใช่ตัวตน

     อนันตริยกรรมหมายถึงกรรมหนักที่สุดฝ่ายบาปอกุศลซึ่งให้ผลทันทีมี๕อย่างคือ๑มาตุฆาตฆ่ามารดา๒ปิตุฆาตฆ่าบิดา๓อรหันตฆาตฆ่าพระอรหันต์๔โลหิตุปบาททำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงพระโลหิตห้อขึ้นไปเช่นพระเทวทัตได้ทำร้ายพระพุทธองค์ในสมัยพุทธกาล๕สังฆเภทยังสงฆ์ให้แตกกันทำลายสงฆ์ อนันตริยกรรม อนันตริยกรรม อนันตริยกรรม อนันตริยกรรม กรรมหนักที่สุด

     อนันตริยกรรม๔ประการแรกคือมาตุฆาตปิตุฆาตอรหันตฆาตและโลหิตตุปบาทจัดเป็นสาธารณอนันตริยกรรมค่ะ อนันตริยกรรม สาธารณอนันตริยกรรม สาธารณอนันตริยกรรม สาธารณอนันตริยกรรม ๔ประการ

     อนาคตสุดท้ายก็ได้พระอรหันต์เข้านิพพานเช่นกันค่ะ อนาคตของ อนาคต อนาคต นิพพาน

     อนาคามีหมายความว่าจะไม่กลับมาเกิดในกามาวจรภพอีกแต่จะเกิดในพรหมโลกอีกเพียงครั้งเดียวแล้วจะนิพพานจากพรหมโลกนั้นเลยเป็นชื่อเรียกพระอริยบุคคลประเภทที่๓ใน๔ประเภทคือโสดาบันสกทาคามีอนาคามีอรหันต์เป็นผู้ละสังโยชน์เบื้องต่ำหรือโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้ง๕ประการได้แล้วค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล อนาคามี อนาคามี อนาคามี เกิดในพรหมโลกอีกเพียงครั้งเดียว

     อนาคามีแปลว่าผู้ไม่มาเกิดอีกค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล อนาคามี อนาคามี อนาคามี ผู้ไม่มาเกิดอีก

     อนิจจตาหรืออนิจจลักษณะคืออาการไม่เที่ยงอาการไม่คงที่อาการไม่ยั่งยืนอาการที่เกิดขึ้นแล้วเสื่อมและสลายไปอาการที่แสดงถึงความเป็นสิ่งไม่เที่ยงของขันธ์ไตรลักษณ์

     อนิจจะกับอนิจจลักษณะเป็นคนละอย่างกันเพราะเป็นลักขณวันตะและลักขณะของกันและกันดังนี้อนิจจังอนิจฺจํหมายถึงขันธ์๕ทั้งหมดเป็นปรมัตถ์เป็นสภาวะธรรมมีอยู่จริงคำว่าอนิจจังเป็นคำไวพจน์ชื่อหนึ่งของขันธ์๕อนิจจลักษณะอนิจฺจตาอนิจฺจลกฺขณํหมายถึงเครื่องกำหนดขันธ์๕ทั้งหมดซึ่งเป็นตัวอนิจจังอนิจจลักษณะทำให้เราทราบได้ว่าขันธ์๕เป็นของไม่เที่ยงไม่คงที่ไม่ยั่งยืนซึ่งได้แก่อาการความเปลี่ยนแปลงไปของขันธ์๕เช่นอาการที่ขันธ์๕เคยเกิดขึ้นแล้วเสื่อมสิ้นไปเป็นขันธ์๕อันใหม่อาการที่ขันธ์๕เคยมีขึ้นแล้วก็ไม่มีอีกครั้งเป็นต้นในวิสุทธิมรรคท่านได้ยกอนิจจลักษณะจากปฏิสัมภิทามรรคมาแสดงไว้ถึง๒๕แบบเรียกว่าโต๒๕และในพระไตรปิฎกยังมีการแสดงอนิจจลักษณะไว้ในแบบอื่นๆอีกมากมายแต่คัมภีร์ที่รวบรวมไว้เป็นเบื้องต้นเหมาะสำหรับเป็นคู่มือสำหรับปฏิบัติธรรมได้แก่คัมภีร์ปฏิสัมภิทามรรคเพราะสามารถจะจำคำที่คนโบราณใช้กำหนดกันจากคัมภีร์นี้แล้วนำไปใช้ได้ทันทีดังที่ท่านแสดงไว้เป็นต้นว่า"จกฺขุอหุตฺวาสมฺภูตํหุตฺวานภวิสฺสตีติววตฺเถติ"นักปฏิบัติธรรมย่อมกำหนดว่า"จักขุปสาทที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้นพอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"เป็นต้น อนิจจัง อนิจจัง อนิจจัง อนิจจัง คนละอย่างอนิจจลักษณะ

     อนิจจังแปลว่าไม่เที่ยงไม่ยั่งยืนไม่มั่นคงไม่แน่นอนหรือตั้งอยู่ในสภาวะเดิมได้ยาก อนิจจัง อนิจจัง อนิจจัง อนิจจัง ตั้งอยู่ในสภาวะเดิมได้ยาก

     อนิฏฐารมณ์อ่านว่าอะนิดถารมแปลว่าอารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์

     อนิมิตตวิโมกข์ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนิจจัง

     อนุพยัญชนะคือลักษณะน้อยๆหรือลักษณะอันเป็นข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษหรือมหาปุริสลักขณะนิยมเรียกกันว่าอสีตยานุพยัญชนะหรืออนุพยัญชนะค่ะ อนุพยัญชนะ อนุพยัญชนะ อนุพยัญชนะ อนุพยัญชนะ พระมหาบุรุษ

     อนุพุทธะมาจากศัพท์ว่าอนุตามบวกพุทธะผู้รู้แปลว่าผู้ตรัสรู้ตามค่ะ อนุพุทธะ อนุพุทธะ

     อนุโมทนาแปลว่าความยินดีตามความพลอยยินดีค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา อนุโมทนา อนุโมทนา ความยินดีตาม

     อนุโมทนากถาเป็นบทสวดมนต์ของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาที่สวดเพื่อมุ่งประสงค์ให้ผู้ถวายทานแก่พระสงฆ์เกิดความยินดีในทานหรือเพื่อแสดงธรรมแก่ผู้ถวายในสมัยพุทธกาลพระสูตรสำคัญๆเกิดจากคำอนุโมทนากถาของพระพุทธเจ้าที่ทรงแสดงแก่ผู้ถวายทานตามสถานที่ต่างๆที่พระองค์เสด็จไปรับบิณฑบาตปัจจุบันพระสงฆ์มีบทสวดสำหรับอนุโมทนาโดยเฉพาะส่วนใหญ่จะตัดตอนมาจากพระสูตรในพระไตรปิฎกซึ่งมีบทที่พระสงฆ์ใช้สวดเป็นประจำไม่กี่พระสูตรแต่บทที่พระสงฆ์สวดนำเป็นปกติทุกครั้งก่อนที่จะสวดเนื้อหาในพระสูตรคือบทอนุโมทนารัมภกถาและบทสามัญญานุโมทนากถาหรือที่เรียกกันสั้นๆว่ายถาสัพพีซึ่งเป็นบทสวดที่ไม่ใช่พระพุทธพจน์โดยบทยถาเป็นการให้พรอุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้วส่วนบทสัพพีมีเนื้อหากล่าวถึงการอำนวยมงคลและอวยพรให้ผู้ถวายทานปราศจากอันตรายทั้งหลายค่ะนอกจากจะหมายถึงบทสวดภาษาบาลีของพระสงฆ์แล้วยังอาจหมายถึงคำกล่าวของพระสงฆ์ที่แสดงในงานต่างๆเพื่อขอบคุณเจ้าภาพอีกด้วยนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา อนุโมทนากถา อนุโมทนา ผู้ถวายยินดีในทาน

     อภิญญาแปลว่าความรู้ยิ่ง พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อภิญญา อภิญญา

     อภิธรรมคือธรรมที่ยิ่งใหญ่เพราะเป็นอนัตตาไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของผู้ใดอภิธรรม อภิธรรม อภิธรรม ธรรมที่ยิ่งใหญ่

     อภิธัมมาวตารเป็นผลงานการเรียบเรียงของท่านพระพุทธัตตะหรือท่านพุทธัตตาจารย์ชาวชมพูทวีปผู้ชำนาญพระไตรปิฎกซึ่งท่านได้เรียบเรียงขึ้นจากเนื้อหาในพระอภิธรรมปิฎกอรรถกถาของพระไตรปิฎกภาษาบาลีต่างๆทั้งที่สืบมาแต่ครั้งพุทธกาลและของอาจารย์ผู้ทรงจำพระไตรปิฎกที่มีชื่อเสียงมีความรู้มากในยุคก่อนพศ๑๐๐๐โดยมีรูปแบบเป็นสังเขปัฏฐกถาคือนำเนื้อหามาย่อลงเหลือแต่ที่เป็นหลักซึ่งคล้ายกับวิสุทธิมรรคฉบับย่อนั่นเองซึ่งท่านจัดเป็นบทรวม๒๔บท(ปริจเฉท)ค่ะ อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร นำเนื้อหามาย่อลงเหลือแต่ที่เป็นหลัก

     อภิธัมมาวตารแปลว่าหยั่งลงสู่อภิธรรมหรือหยั่งรู้เข้าใจในสรรพสิ่งทุกประการอย่างละเอียดที่สุดค่ะ อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร หยั่งรู้เข้าใจในสรรพสิ่ง



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ