ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
อาบัติแปลว่าการต้องการล่วงละเมิดค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
การล่วงละเมิด
อาบัติทุกกฏเป็นอาบัติที่เบาเมื่อต้องเข้าแล้วก็สามารถแก้ไขได้ตามพระวินัยด้วยแสดงแสดงอาบัติต่อหน้าพระภิกษุด้วยกันด้วยการมีความจริงใจที่จะสำรวมระวังต่อไปแต่ถ้าไม่แก้ไขด้วยการปลงอาบัติก็จะเป็นเครื่องกั้นการบรรลุมรรคผลนิพพานกั้นสุคติภูมิด้วยค่ะ
อาบัติทุกกฏ
อาบัติทุกกฏ
อาบัติทุกกฏ
เบา
อามิสทานคือการให้วัตถุสิ่งของพระพุทธเจ้าตรัสว่าข้าว(อาหาร)และน้ำเป็นทรัพย์โดยปรมัตถ์สิ่งอื่นเป็นทรัพย์โดยบัญญัติเพราะเกิดจากการสมมุติของของคนที่ทำให้เกิดความจำเป็นเช่นเสื้อผ้าถ้าใส่กันอายเงินทองเพชรที่กินไม่ได้และไม่มีประโยชน์อามิสทาน
อามิสบูชาแปลว่าบูชาด้วยอามิสบูชาด้วยสิ่งของค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อามิสบูชา
อามิสบูชา
อายตนะอ่านว่าอายะตะนะแปลว่าที่เชื่อมต่อเครื่องติดต่อค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อายตนะ
อายตนะ
อายตนะ
อายตนะ
แปลว่าที่เชื่อมต่อ
อายตนะภายนอกหมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคนบ้างเรียกว่าอารมณ์๖มี๖คือรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะธรรมารมณ์ทั้งหมดนี้เป็นคู่กับอายตนภายในค่ะอายตนะภายนอกนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอารมณ์เมื่อตาเห็นรูปเรียกว่าสัมผัสรู้ว่ามีการเห็นเรียกว่าวิญญาณเกิดความรู้สึกขึ้นเมื่อตาเห็นรูปเรียกว่าเวทนาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อายตนะ
อายตนะ
อายตนะภายในหมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคนบ้างเรียกว่าอินทรีย์๖มี๖คือตาหูจมูกลิ้นกายใจทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะภายนอกค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อายตนะ
อายตนะ
อาราธนาอ่านว่าอาราดทะนาแปลว่าการทำให้ยินดีทำให้ดีใจทำให้หายโกรธทำให้ชอบทำให้สำเร็จค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาราธนา
อาราธนา
อาราธนาในคำวัดใช้ในความหมายว่าเชิญเชื้อเชิญอ้อนวอนร้องขอภิกษุสามเณรให้ยินดีพอใจทำในสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือร้องขอให้ทำสิ่งใดให้สำเร็จอย่างอาราธนาศีลคือร้องขอให้พระให้ศีลอาราธนาพระปริตรคือร้องขอให้พระสวดมนต์อาราธนาธรรมคือร้องขอให้พระแสดงธรรมอาราธนาไปทำบุญบ้านคือนิมนต์พระไปทำพิธีที่บ้านค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาราธนา
อาราธนา
อาสวกิเลสคือกิเลสที่หมักหมมนอนเนื่องทับถมอยู่ในจิตชุบย้อมจิตให้เศร้าหมองให้ขุ่นมัวให้ชุ่มอยู่เสมอเรียกย่อว่าอาสวะก็ได้ค่ะมี๔อย่างคือกามได้แก่ความติดใจรักใคร่อยู่ในกามคุณภพได้แก่ความติดอยู่ในภพความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ทิฏฐิได้แก่ความเห็นผิดความหัวดื้อหัวรั้นอวิชชาได้แก่ความไม่รู้จริงความลุ่มหลงมัวเมา
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
กิเลสที่หมักหมมในจิต
อาสวกิเลสอ่านว่าอาสะวะแปลว่ากิเลสที่หมักดองอยู่ในจิตค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
แปลว่ากิเลสที่หมักดองอยู่ในจิต
อิฏฐารมณ์คือสิ่งที่คนปรารถนาต้องการอยากได้อยากมีอยากพบเห็นได้แก่กามคุณ๕คือรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสที่ดีชวนให้รักให้ชอบใจและโลกธรรมในส่วนที่ดี๔คือลาภยศสรรเสริญสุขเป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคนแต่มีความจริงว่าเป็นสิ่งไม่เที่ยงทนอยู่ในสภาพนั้นๆไม่ได้นานมีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดาเกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้ค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
สิ่งที่คนปรารถนา
อิฏฐารมณ์อ่านว่าอิดถารมแปลว่าอารมณ์ที่น่าปรารถนาตรงข้ามกับอนิฏฐารมณ์อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อารมณ์ที่น่าปรารถนา
อินทรียสังวรศีลหมายถึงศีลคือความสำรวมอินทรีย์๖ระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมเกิดขึ้นได้ในขณะที่รับรู้อินทรีย์ทั้งหกคือตาหูจมูกลิ้นกายและใจอินทรียสังวรศีล
อินทรียสังวรศีล
อินทรียสังวรศีล
บาปอินทรีย์๖
อุคคฏิตัญญูพวกที่มีสติปัญญาฉลาดเฉลียวเป็นสัมมาทิฏฐิเมื่อได้ฟังธรรมก็สามารถรู้และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็วเปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำเมื่อต้องแสงอาทิตย์ก็เบ่งบานทันทีอุคคฏิตัญญู
อุคหนิมิตคือเครื่องหมายที่กำหนดได้แก่อารมณ์ที่เจนตาเจนใจหลังจากทีได้เพ่งพิจารณาบริกรรมนิมิตเช่นเพ่งกสิณแล้วแม้หลับตาอยู่ก็สามารถเห็นนิมิตนั้นได้ชัดเจนเหมือนลืมตาเห็นเรียกว่านิมิตติดตาก็มีอุคหนิมิต
อุจเฉททิฐิคือความเห็นที่ว่าสัตว์โลกทั้งปวงเมื่อตายหรือละจากอัตภาพนี้ไปแล้วก็เป็นอันขาดสูญไม่มีอะไรที่จะไปเกิดหรือไปปฏิสนธิในภพอื่นอีกสิ่งที่เรียกว่าอาตมันหรืออัตตาชีวะเจตภูติก็สูญไปเช่นเดียวกันเรียกว่าขาดสูญไปทั้งหมดไม่มีอะไรเหลือให้ไปเกิดในสุคติหรือทุคติอีกค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุจเฉททิฐิ
อุจเฉททิฐิ
อุจเฉททิฐิ
อุจเฉททิฐิ
ตายแล้วสูญ
อุจเฉททิฐิอ่านว่าอุดเฉทะทิดถิแปลว่าความเห็นว่าขาดสูญเป็นความเห็นที่ปฏิเสธหรือตรงกันข้ามกับสัสสตทิฐิค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุจเฉททิฐิ
อุจเฉททิฐิ
อุจเฉททิฐิ
อุจเฉททิฐิ
ความเห็นว่าขาดสูญ
อุดมการณ์อันสูงสุดของพระภิกษุและบรรพชิตในพระพุทธศาสนานี้อันมีลักษณะที่แตกต่างจากศาสนาอื่นอันอาจเรียกได้ว่าอุดมการณ์๔ของพระพุทธศาสนาได้แก่๑ความอดทนอดกลั้นเป็นสิ่งที่นักบวชในศาสนานี้พึงยึดถือและเป็นสิ่งที่ต้องใช้เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจทุกอย่างที่ต้องเจอในชีวิตนักบวชเช่นประสงค์ร้อนได้เย็นประสงค์เย็นได้ร้อน๒การมุ่งให้ถึงพระนิพพานเป็นเป้าหมายหลักของผู้ออกบวชมิใช่สิ่งอื่นนอกจากพระนิพพาน๓พระภิกษุและบรรพชิตในพระธรรมวินัยนี้ไม่พึงทำผู้อื่นให้ลำบากด้วยการเบียดเบียนทำความทุกข์กายหรือทุกข์ทางใจไม่ว่าจะในกรณีใดๆ๔พึงเป็นผู้มีจิตใจสงบจากอกุศลวิตกทั้งหลายมีความโลภโกรธหลงเป็นต้น
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
อุตริมนุสธรรมหรืออุตริมนุษยธรรมแปลว่าธรรมอันยวดยิ่งของมนุษย์หรือธรรมของมนุษย์ผู้ยวดยิ่งค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุตริมนุสธรรม
อุตริมนุสธรรม
อุตุนิยามคือกฎธรรมชาติที่ครอบคลุมความเป็นไปของปรากฏการณ์ในธรรมชาติเกี่ยวกับวัตถุที่ไม่มีชีวิตทุกชนิดหลักของอุตุนิยามตามแนวพระพุทธศาสนามุ่งให้ผู้ที่เข้าใจเกี่ยวกับกฎธรรมชาติที่ว่าด้วยวัตถุอุตุนิยามคือลักษณะสภาวะต่างๆของธาตุทั้ง๕คือดินน้ำลมไฟและอากาศซึ่งก็คือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่างๆเมื่อมีเหตุปัจจัยเพียงพอก็จะเป็นไปโดยไม่มีใครเป็นผู้กำหนดหรือห้ามได้เช่นการที่จะเกิดฝนตกก็มีเหตุปัจจัยเพียงพอให้เกิดฝนตกเช่นการระเหยของน้ำบนดินการรวมตัวของก้อนเมฆการเกิดลมพัดการกระทบกับความเย็นก่อให้เกิดฝนตกเป็นต้นตลอดจนปรากฏการณ์ทางวัตถุอื่นๆเช่นการเคลื่อนที่ของจักรวาลแรงดึงดูดแผ่นดินไหวฟ้าผ่าเป็นต้นซึ่งปรากฏการณ์เหล่านี้พระพุทธศาสนาถือว่าเกิดขึ้นเพราะวัตถุธาตุต่างๆคือดินน้ำลมไฟอากาศปรับเปลี่ยนสภาวการณ์ของตัวเองเพราะอิทธิพลจากการปรับสถานะธาตุตามอุณหภูมิคือความร้อนและเย็นดังนั้นกฎข้อนี้จึงชื่อว่าอุตุนิยาม(อุตุในพระไตรปิฎกแปลว่าพลังงานฤดูความร้อนเย็น)อุตุนิยาม
อุทกทานมีความหมายว่าให้ทานด้วยน้ำหรือให้น้ำเป็นทาน
อุทกทาน
อุทกทาน
อุทธัจจะเป็นความฟุ้งซ่านหรือธรรมชาติที่จับอารมณ์ไม่มั่น
โมหะ
อุทธัจจะ
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ