ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
โทษของทางโลกคือจะถูกผู้คนประณามและสาปแช่งไม่คบค้าสมาคมใดๆด้วยเลยค่ะและยังถูกกฎหมายบ้านเมืองลงโทษอีกส่วนโทษของทางธรรมคือจะถูกตราหน้าว่าเป็นคนบาปหนักบาปหนาที่สุดฟ้าไม่อาจจะยกโทษให้เลยแม้แต่น้อยพระพุทธศาสนาได้กล่าวไว้ว่าผู้ใดทำกรรมอนันตริยกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วจะไม่สามารถบวชเข้ามาเป็นภิกษุได้เลยเพราะถือว่าเป็นผู้ต้องปาราชิกสำหรับฆราวาสแล้วและจะไม่สามารถบรรลุมรรคผลนิพพานใดๆเลยตลอดชีวิตในชาติที่ยังมีชีวิตอยู่และเมื่อตายจากโลกไปจะต้องตกนรกเพียงสถานเดียวไม่สามารถขึ้นสวรรค์ได้ต่อให้ทำกรรมดีมากมายเพียงใดก็ไม่อาจหนีพ้นจากนรกไปได้ค่ะ
ผู้ทำอนันตริยกรรมจะต้องตกนรกลงไปยังขุมนรกที่ลึกที่สุดคือมหาขุมนรกอเวจีซึ่งอยู่ชั้นที่๘เป็นเวลายาวนานที่ไม่อาจจะนับได้เลยหรือเรียกว่ากัลป์ค่ะ
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
นรกอเวจี
โทษหนักเบาและลำดับการให้ผลก่อนหลังของอนันตริยกรรมเรียงลำดับจากแรงที่สุดลงไปได้ดังนี้สังฆเภทอนันตริยกรรมหนักที่สุดเพราะทำให้พระพุทธศาสนาเสื่อมเสียโลหิตุปบาทอนันตริยกรรมสำคัญมากแต่ปัจจุบันทำไม่ได้เพราะท่านดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้วอรหันตฆาตอนันตริยกรรมสำคัญปานกลางมาตุฆาตปิตุฆาตอนันตริยกรรมสำคัญน้อยกว่าอนันตริยกรรมอื่นๆเพราะถือว่าอยู่ในเพศฆราวาส
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม
ทำสังฆเภทหนักที่สุด
โสดาบันสกทาคามีอนาคามีและอรหันต์ค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล
อริยบุคคล
อริยบุคคล
อริยบุคคล
โสดาบันสกทาคามีอนาคามีอรหันต์
โอตตัปปะอ่านว่าโอดตับปะแปลว่าความเกรงกลัว
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โอตตัปปะ
ความหมายของคำว่าโอตตัปปะ
โอปปาติกะคือผุดขึ้นเป็นตัวเป็นตนและโตเต็มที่ในทันทีเป็นโยนิคือกำเนิดหรือวิธีเกิดของสัตว์โลกอย่างหนึ่งใน๔อย่างเรียกว่าโอปปาติกกำเนิดค่ะเป็นการเกิดที่ไม่ต้องอาศัยพ่อแม่อาศัยแต่อดีตกรรมอย่างเดียวเกิดแล้วก็สมบูรณ์เต็มตัวไม่เจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆเหมือนสัตว์โลกทั่วไปเวลาตายก็หายวับไปไม่มีซากร่างเหลือไว้เหมือนคนหรือสัตว์ค่ะ
โอปปาติกะ
อุปาทาน
โอปปาติกะอ่านว่าโอปะปาติกะแปลว่าผู้เกิดผุดขึ้นค่ะ
โอปปาติกะ
โอปปาติกะ
โอปปาติกะ
โอปปาติกะ
ผู้เกิดผุดขึ้น
โอปปาติกะได้แก่เทวดาพรหมสัตว์นรกเปรตอสุรกายและมนุษย์สมัยต้นกัลป์ค่ะ
โอปปาติกะ
โอปปาติกะ
โอวาทปาติโมกข์เป็นคำสอนที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาค่ะ
โอวาทปาติโมกข์
พุทธศาสนา
หัวใจพุทธศาสนา
พุทธศาสนา
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์เป็นหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนาเป็นปาติโมกข์ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงตลอดปฐมโพธิกาลคือ๒๐พรรษาแรกเฉพาะครั้งแรกในวันเพ็ญเดือนมาฆะหลังจากตรัสรู้แล้ว๙เดือนเป็นการแสดงปาติโมกข์ที่ประกอบด้วยองค์๔เรียกว่าจาตุรงคสันนิบาตซึ่งมีเพียงครั้งเดียวในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งๆอรรถกถาแสดงไว้ว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์นี้ด้วยพระองค์เองท่ามกลางที่ประชุมสงฆ์ตลอด๒๐พรรษาแรกหลังจากนั้นทรงบัญญัติให้พระสงฆ์แสดงอาณาปาติโมกข์แทนค่ะ
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
หลักคำสอนสำคัญพุทธศาสนา
ในคัมภีร์มโนรถปูรณีเรียกอนุพุทธว่าจตุสัจจพุทธะเพราะเป็นผู้รู้อริยสัจ๔และเรียกผู้ศึกษาพุทธพจน์มามากจนเป็นพหูสูตว่าสุตพุทธะจึงรวมเป็นพุทธะ๔ประเภทค่ะ
อนุพุทธะ
อนุพุทธะ
ในหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาโทมีวิชาอนุพุทธประวัติหรือสาวกประวัติหมายถึงประวัติของพระสงฆ์สาวกสำคัญในสมัยพุทธกาลค่ะ
อนุพุทธะ
อนุพุทธะ
ให้เพ่งเล็งถึงลักษณะที่ไร้อำนาจบังคับตัวเองให้ไม่เปลี่ยนไปไม่ได้ก็จะกลายเป็นการกำหนดอนัตตขลักษณะน่ะค่ะ
อนัตตา
อนัตตา
อนัตตา
อนัตตา
บังคับตัวเองให้ไม่เปลี่ยนไปไม่ได้
ให้เพ่งเล็งถึงลักษณะอาการที่เปลี่ยนไปจะเป็นการกำหนดอนิจจลักษณะน่ะค่ะ
อนิจจัง
อนิจจัง
ไม่พยาบาทปองร้ายเขาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนสุจริต
อพยาบาท
ไม่โลภอยากได้ของเขาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนสุจริต
อนภิชฌา
๑เป็นผู้มีความปรารถนาลามก๒เป็นผู้ยกตนข่มผู้อื่น๓เป็นผู้มักโกรธมีความโกรธครอบงำแล้ว๔เป็นผู้มักโกรธผูกโกรธ๕เป็นผู้มักโกรธมักระแวง๖เป็นผู้มักโกรธเปล่งวาจาใกล้ต่อความโกรธ๗เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้องกลับโต้เถียงโจทก์๘เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้องกลับรุกรานโจทก์๙เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้องกลับเอาเรื่องอื่นมากลบเกลื่อนพูดนอกเรื่องแสดงความโกรธความมุ่งร้ายความไม่เชื่อฟังปรากฏ๑๐เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้องไม่พอใจตอบในความประพฤติ๑๑เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้องกลับปรักปรำโจทก์๑๒ภิกษุเป็นผู้ลบหลู่ตีเสมอ๑๓ภิกษุเป็นผู้ริษยาตระหนี่๑๔ภิกษุเป็นผู้โอ้อวดเจ้ามายา๑๕ภิกษุเป็นผู้กระด้างดูหมิ่นผู้อื่น๑๖ภิกษุเป็นผู้ถือแต่ความเห็นของตนถือรั้นถอนได้ยากเหล่านี้ล้วนทำให้เป็นผู้ว่ายากทั้งสิ้นค่ะ
มหาปวารณา
เหตุที่ทำให้เป็นคนว่ายากและว่าง่าย
เหตุที่ทำให้เป็นคนว่ายากและว่าง่าย
อนุมานสูตร
อนุมานสูตร
เป็นผู้ว่ายากทั้งสิ้น
๑กามุปาทานยึดติดในกาม๒ทิฏฐุปาทานยึดถือในทิฏฐิ๓สีลัพพัตตุปาทานติดยึดในศีลวัตรที่งมงาย๔อัตตวาทุปาทานยึดมั่นในตัวเองของตัวเอง
อุปาทาน
อุปาทาน
๑ขันธูปธิกิเลสเป็นเหตุสร้างกรรมจากยึดมั่นถือมั่นในขันธ์๒ตัณหูปธิกิเลสเป็นเหตุสร้างกรรมจากความทะยานอยาก๓อภิสังขารูปธิกิเลสเป็นเหตุสร้างกรรมจากปรุงแต่งทางความคิด๔กามคุณูปธิกิเลสเป็นเหตุสร้างกรรมจากความหวงแหนในกามคุณ
(คุ่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะรวบรวมโดยอาจารย์(วิปัสสนา)วรรณสิทธิไวทยะเสวี)หนังสือเรียนนักธรรมชั้นโทวิชาธรรมวิภาคหมวดสามหัวข้อวิเวกอุปธิ
อุปธิ
อุปธิ
อุปธิ
มี๔อย่าง
๑ฉฬงฺคุเปกขาอุเบกขาประกอบด้วยองค์๖คือการวางเฉยในอายตนะทั้ง๖๒พฺรหฺมวิหารุเปกฺขาอุเบกขาในพรหมวิหาร๓โพชฺฌงฺคุเปกฺขาอุเบกขาในโพชฌงค์คืออุเบกขาซึ่งอิงวิราคะอิงวิเวก๔วิริยุเปกฺขาอุเบกขาในวิริยะคือทางสายกลางในการทำความเพียรไม่หย่อนเกินไปไม่ตึงเกินไป๕สงฺขารุเปกขาอุเบกขาในสังขารคือการไม่ยึดมั่นถือมั่นในขันธ์๕๖เวทนูเปกฺขาอุเบกขาในเวทนาไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุข๗วิปสฺสนูเปกขาอุเบกขาในวิปัสสนาอันเกิดจากเห็นอนิจจังทุกขังอนัตตา๘ตตฺรมชูฌตฺตุเปกขาอุเบกขาในเจตสิกหรืออุเบกขาที่ยังธรรมทั้งหลายที่เกิดพร้อมกันให้เป็นไปเสมอกัน๙ฌานุเปกฺขาอุเบกขาในฌาน๑๐ปาริสุทฺธุเปกฺขาอุเบกขาบริสุทธิ์จากข้าศึกคือมีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุเบกขา
อุเบกขา
อุเบกขา
อุเบกขา
มีการวางเฉยในอายตนะทั้ง๖
๑มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม๒นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไปโดยลำดับแต่ต้นจนปลาย๓นิ้วพระหัตถ์แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี๔พระนขาทั้ง๒๐มีสีอันแดง๕พระนขาทั้ง๒๐นั้นงอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง๖พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลมสนิทมิได้เป็นริ้วรอย๗ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะมิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก๘พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา๙พระดำเนินงามดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ๑๐พระดำเนินงามดุจสีหราช๑๑พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์๑๒พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน๑๓ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้นยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อนพระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน๑๔พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก๑๕มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี๑๖พระนาภีมิได้บกพร่องกลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง๑๗พระอุทรมีสัณฐานอันลึก๑๘ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ๑๙ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี๒๐ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี๒๑พระอังคาพยพใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดีคืองามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้๒๒พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนาที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย๒๓พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง๒๔พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปานมูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง๒๕พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง๒๖พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง๒๗ทรงพระกำลังมากเสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติประมาณถึงพันโกฏิช้างถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ๒๘มีพระนาสิกอันสูง๒๙สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม๓๐มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากันเสมอเป็นอันดีมีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก๓๑พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน๓๒พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์๓๓พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย๓๔พระอินทรีย์ทั้งมีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น๓๕พระเขี้ยวทั้งกลมบริบูรณ์๓๖ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย๓๗พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน๓๘ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก๓๙ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว๔๐ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรงบ่มิได้ค้อมคด๔๑ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง๔๒รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ๔๓กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์๔๔กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน๔๕ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้งมีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น๔๖ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด๔๗พระชิวหามีสัณฐานอันงาม๔๘พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม๔๙พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ๕๐ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม๕๑ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง๕๒แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้นบ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง๕๓พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว๕๔ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน๕๕พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม๕๖พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้๕๗พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด๕๘เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ๕๙พระโขนงนั้นใหญ่๖๐พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร๖๑ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย๖๒พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ๖๓พระสรีรกายมิได้มัวหมองผ่องใสอยู่เป็นนิตย์๖๔พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ๖๕พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิทบ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย๖๖กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา๖๗พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น๖๘พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย๖๙ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด๗๐พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม๗๑กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล๗๒พระเกสาดำเป็นแสง๗๓กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ๗๔พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ๗๕พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น๗๖พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น๗๗พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด๗๘เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง๗๙เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆเส้น๘๐วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลากล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้นณเบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ
อนุพยัญชนะ
อนุพยัญชนะ
๓คาถากึ่งค่ะ
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
บีบอกจริง
ก็ด้วยความที่ท่านเป็นผู้ไม่มีโรคภัยเบียดเบียนเป็นเหตุให้ท่านมีอายุยืนยาวแหละค่ะ
เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑
พระพากุลเถระ
พระพากุลเถระ
พระพากุล
อายุยืน
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ