| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ด้วยอานิสงส์แห่งการสร้างเว็จกุฎีส้วมและการถวายยาเป็นทานแก่พระสงฆ์แหละค่ะ เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑ พระพากุลเถระ พระพากุลเถระ พระพากุล ถวายยา

     พระพากุลเถระได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ไม่มีโรคาพาธเมื่อท่านได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้วท่านได้ช่วยแบ่งเบาภาระทางพระพุทธศาสนาในการอบรมสั่งสอนพุทธบริษัทและท่านเป็นผู้ปฏิบัติเคร่งครัดในธุดงค์ข้อเนสัชชิกธุดงค์และข้ออรัญญิกธุดงค์ดังจะเห็นได้ว่าตั้งแต่ท่านบวชมานั้นท่านไม่เคยจำพรรษาในบ้านเลยนะคะนอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้ที่ไม่มีโรคเบียดเบียนไม่เคยให้หมอรักษาพยาบาลไม่เคยฉันแม้แต่ผลสมออันเป็นยาสมุนไพรแม้แต่เพียงผลเดียวเพราะว่าท่านไม่มีโรคใดๆเลยนั่นเองค่ะ เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑ พระพากุลเถระ พระพากุลเถระ พระพากุล ไม่มีโรคาพาธ

     พระพากุลเถระค่ะ เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑ พระพากุลเถระ พระพากุลเถระ พระพากุล เอตทัคคะ

     พระอัญญาโกณฑัญญเถระ ปัญจวัคคีย์ เอตทัคคะในด้านรัตตัญญ รัตตัญญ เอตทัคคะในด้านรัตตัญญ พระอัญญาโกณฑัญญ

     พระโกณฑัญญะได้รับการยกย่องจากพระพุทธองค์ให้เป็นเอตทัคคะในด้านรัตตัญญูเรียกว่ามีราตรีนานคือเป็นผู้รู้ธรรมก่อนใครและได้บวชก่อนผู้อื่นในพระพุทธศานาค่ะ ปัญจวัคคีย์ พระอัญญาโกณฑัญญเถระ พระอัญญาโกณฑัญญ พระอัญญาโกณฑัญญเถระ มีราตรีนาน

     เอตทัคคะคือตำแหน่งที่พระพุทธเจ้ายกย่องพุทธสาวกว่าเป็นผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางใดหนึ่งเป็นผู้ประเสริฐสุดตำแหน่งเอตทัคคะนี้ได้มาด้วยเหตุ๔อย่างคือ ๑เกิดเรื่องขึ้นหรืออัตถุปปัตติโตคือได้แสดงความสามารถออกมาให้ปรากฏโดยสอดคล้องกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์นั้นๆที่เกิดขึ้น ๒เกิดมาก่อนหรืออาคมันโตคือได้สร้างบุญสะสมในด้านนั้นมาตั้งแต่อดีตชาติพร้อมทั้งได้ตั้งจิตปรารถนาเพื่อบรรลุได้ตำแหน่งเอตทัคคะนี้ด้วย ๓เป็นผู้ช่ำชองชำนาญหรือจิณณวสิโตคือได้เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องนั้นๆเป็นพิเศษ สุดท้าย๔เป็นผู้ยิ่งด้วยคุณหรือคุณาติเรกโตคือมีความสามารถในเรื่องที่ทำให้ได้รับตำแหน่งเอตทัคคะเหนือกว่าผู้อื่นที่มีความสามารถอย่างเดียวกัน ความสุดยอดด้านต่างต่างของมนุษย์สมัยพุทธกาล เอตทัคคะ เอตทัคคะ ตำแหน่งที่พระพุทธเจ้ายกย่องให้

     เอตทัคคะหมายถึงผู้ประเสริฐสุดในทางใดทางหนึ่งค่ะเป็นตำแหน่งทางพุทธศาสนาที่พระพุทธเจ้าได้ประทานแต่งตั้งให้พุทธบริษัทคือภิกษุภิกษุณีอุบาสกอุบาสิกาผู้มีความรู้ความสามารถเด่นกว่าท่านอื่นๆในด้านนั้นๆและในแต่ละตำแหน่งพระพุทธองค์ประทานแต่งตั้งเพียงรูปเดียวท่านเดียวเท่านั้นค่ะ ความสุดยอดด้านต่างต่างของมนุษย์สมัยพุทธกาล เอตทัคคะ เอตทัคคะ แปลว่าผู้ประเสริฐสุดในทางหนึ่ง

     นางวิสาขาเกิดในตระกูลเศรษฐีในเมืองภัททิยะแคว้นอังค่ะเป็นบุตรของธนญชัยเศรษฐีมารดาชื่อว่าสุมนาเทวีมีปู่ชื่อเมณฑกเศรษฐีนางวิสาขามีอีกชื่อหนึ่งว่านางวิสาขามิคารมารดาเป็นภรรยาของปุณณวัฒนกุมารบุตรของมิคารมหาเศรษฐีในเมืองสาวัตถีท่านเป็นผู้มีศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้าเป็นผู้ถวายบุพพารามและโลหะปราสาทหลังแรกแก่พระพุทธเจ้าพระพุทธองค์ยกย่องนางวิสาขาว่าเป็นผู้เลิศกว่าอุบาสิกาทั้งหลายในฝ่ายผู้เป็นทายิกานอกจากนั้นนางวิสาขายังมีน้องสาวคนหนึ่งที่เป็นบุคคลสำคัญในพุทธประวัติคือนางสุชาดานางวิสาขานางวิสาขานางวิสาขานางวิสาขาเลิศทายิกา

     นางวิสาขาเป็นผู้ถวายบุพพารามและโลหะปราสาทหลังแรกแก่พระพุทธเจ้าค่ะนางวิสาขาบุพพารามบุพพารามบุพพารามนางวิสาขาเป็นผู้ถวาย

     พระพุทธองค์ยกย่องนางวิสาขาว่าเป็นผู้เลิศกว่าอุบาสิกาทั้งหลายในฝ่ายผู้เป็นทายิกานางวิสาขานางวิสาขาเอตทัคคะนางวิสาขาทายิกานางวิสาขา

     เรียกกร่อนมาจากอุบาสิกาน่ะค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุบาสก_อุบาสิกาสีกาสีกาสีกาอุบาสิกา

      เอตทัคคะในฝ่ายผู้เป็นทายกค่ะ สุทัตตอนาถปิณฑิกคฤหบดีเป็นชาวเมืองสาวัตถีในสมัยพุทธกาลมีชีวิตร่วมสมัยกับพระพุทธเจ้าเดิมท่านมีนามว่าสุทัตตะเศรษฐีเกิดในตระกูลของสุมนะเศรษฐีผู้เป็นบิดาท่านเป็นเศรษฐีที่ใจบุญชอบช่วยเหลือคนตกยากทำให้ท่านถูกเรียกจากชาวเมืองสาวัตถีว่าอนาถบิณฑิกเศรษฐีแปลว่าเศรษฐีผู้เป็นที่พึ่งของคนยากแปลตามศัพท์ว่าเศรษฐีผู้มีก้อนข้าวให้กับคนยากจน อนาถบิณฑิกเศรษฐีเกิดในตระกูลมหาเศรษฐีในเมืองสาวัตถีบิดาชื่อว่าสุมนะมีทรัพย์สมบัติมากมายมหาศาลเมื่อเกิดมาแล้วบรรดาหมู่ญาติได้ตั้งชื่อให้ว่าสุทัตตะเป็นคนมีจิตเมตตาชอบทำบุญให้ทานแก่คนยากจนอนาถา อนาถบิณฑิกเศรษฐี อนาถบิณฑิกเศรษฐี อนาถบิณฑิกเศรษฐี อนาถบิณฑิกเศรษฐี เลิศถวายทาน

     ความสนิทสนมของพระเจ้าปเสนทิโกศลกับพระพุทธองค์นั้นปรากฏในหลายเหตุการณ์เช่นทรงเข้ามาจูบกอดพระบาทของพระพุทธเจ้าซึ่งส่วนใหญ่เหตุการณ์เหล่านี้ได้ถูกบันทึกไว้ในธรรมเจดีย์สูตรโดยพระราชดำรัสของพระเจ้าปเสนทิโกศลทั้งพระสูตรแสดงถึงเหตุผลที่พระองค์ทรงรักและเคารพพระพุทธเจ้าโดยเปรียบเทียบกับลัทธิศาสนาอื่นไปด้วยหรือตอนหนึ่งที่พระพุทธเจ้าเคยกล่าวตักเตือนพระเจ้าปเสนทิโกศลว่ากินจุเหมือนหมูซึ่งเป็นเครื่องยืนยันถึงความสนิทสนมกับพระพุทธองค์ได้อย่างดีด้วยค่ะสาวัตถีพระเจ้าปเสนทิโกศลพระเจ้าปเสนทิโกศลพระเจ้าปเสนทิโกศลกินจุเหมือนหมู

     ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีค่ะอุบาสกผู้เลิศทางด้านถวายทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีอนาถบิณฑิกเศรษฐี

     ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีเป็นคนสร้างถวายพระสัมมาสัมพุทธเจ้าค่ะวัดเชตวันมหาวิหารวัดเชตวันมหาวิหารวัดเชตวันมหาวิหารอนาถบิณฑิกสร้าง

     พระองค์เป็นพระราชาแห่งแคว้นมคธแคว้นที่ใหญ่และมีอำนาจมากที่สุดแคว้นหนึ่งในสมัยพุทธกาลค่ะมีเมืองหลวงชื่อกรุงราชคฤห์พระองค์ได้ครองราชสมบัติอยู่เป็นเวลา๕๒ปีมีอัครมเหสีพระนามว่าเวเทหิซึ่งเป็นพระราชธิดาของพระเจ้ามหาโกศลแห่งแคว้นโกศลค่ะพระเจ้าพิมพิสารยังเป็นพระสหายกับพระพุทธเจ้าสมัยที่ยังเป็นพระกุมารอีกด้วยนะคะด้วยที่พระเจ้าสุทโธทนะทรงมีความสนิทสนมกับพระบิดาของพระเจ้าพิมพิสารพระองค์นับถือพระพุทธศาสนาทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างเข้มแข็งจนแว่นแคว้นของพระองค์มีชื่อเสียงขจรขจายไปทั่วว่าเป็นดินแดนแห่งพระธรรมค่ะพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระโสดาบันมีพระอัครมเหสีพระนามว่าโกศลเทวีหรือเวเทหิเป็นพระกนิษฐาของพระเจ้าปเสนทิโกศลค่ะพระเจ้าปเสนทิโกศลเองก็ได้พระกนิษฐาของพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระมเหสีเช่นกันพระเจ้าพิมพิสารมีพระโอรสนามว่าอชาตศัตรูโหราจารย์ทำนายว่าพระโอรสองค์นี้จะทำปิตุฆาตแต่พระเจ้าพิมพิสารก็มิทรงแยแสต่อคำทำนายทรงอบรมให้การศึกษาพระโอรสเป็นอย่างดีเจ้าชายก็อยู่ในพระโอวาทเป็นอย่างดีแต่พอเจ้าชายน้อยได้รู้จักพระเทวทัตถูกพระเทวทัตล้างสมองให้เห็นผิดเป็นชอบจนจับพระเจ้าพิมพิสารขังคุกให้อดพระกระยาหารและทำการทรมานต่างๆเช่นกรีดพระบาทของพระเจ้าพิมพิสารเพื่อให้เดินจงกรมทำสมาธิไม่ได้เป็นต้นจนพระองค์เสด็จสวรรคตไปเกิดเป็นยักษ์ชื่อชนวสภะในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาค่ะพระเจ้าพิมพิสารเป็นกษัตริย์ผู้ทรงธรรมทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาเป็นอย่างดีทำให้พระพุทธศาสนาเจริญแพร่หลายทั่วแคว้นมคธพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสารพระราชาแห่งแคว้นมคธ

     พระองค์เป็นลูกพระเจ้าพิมพิสารและที่สำคัญเลยคือท่านได้ทำปิตุฆาตแหละค่ะพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าอชาตศัตรูพระเจ้าอชาตศัตรูพระเจ้าอชาตศัตรูทำปิตุฆาต

     พระเจ้าอโศกทรงขุดพบสถานที่เผาพระพุทธสรีระหรือที่เรียกกันว่าเนินดินเจ้าชายสิ้นชีพค่ะพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราช

     พระเจ้าอโศกมหาราชพศ๒๔๐ถึงพศ๓๑๒ครองราชย์พศ๒๗๐ถึงพศ๓๑๑ค่ะทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมริยะผู้ปรีชาสามารถพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ทรงปกครองแคว้นมคธมีพระราชธานีชื่อว่าปาฏลีบุตรปัจจุบันเรียกว่าปัฏนะเป็นพระโอรสของพระเจ้าพินทุสารแห่งราชวงศ์โมริยะพระมารดานามว่าสิริธรรมพระองค์มีพระโอรสและธิดา๑๑พระองค์ค่ะสมเด็จพระมหาจักรพรรดิอโศกมหาราชหรือพระเจ้าอโศกมหาราชเดิมเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่โหดร้ายชอบการทำสงครามกับแว่นแคว้นต่างๆจนได้รับสมญานามว่าจัณฑาโศกราชพระเจ้าอโศกผู้โหดเหี้ยมแต่หลังจากที่พระองค์หันมานับถือพระพุทธศาสนาพระองค์ก็ทรงกลายเป็นองค์เอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก์ผู้อุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองและแผ่ขยายมากที่สุดในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและจากพระราชกรณียกิจมากมายนานัปการที่พระองค์ได้ทรงบำเพ็ญด้วยทศพิธราชธรรมอย่างแท้จริงทำให้ภายหลังทรงได้รับการขนานพระราชสมัญญานามว่าธรรมาโศกราชพระเจ้าอโศกผู้ทรงธรรมค่ะพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชองค์เอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก์

     พระเจ้าอโศกมหาราชคร่า~พระเจ้าอโศกมหาราชใครเป็นคนค้นพบสถานที่เผาพระพุทธสรีระ

     หลังจากที่พระเจ้าอโศกทรงเลิกทำสงครามก็คิดจะหาความสงบพระทัยเดิมทีพระองค์ทรงนับถือลัทธินอกพุทธศาสนาอยู่๓ปีได้ถวายภัตตาหารให้แก่นักบวชในลัทธิต่างๆวันละหลายแสนคนพอเข้าปีที่๔ก็ได้หันมาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเพราะอานุภาพของสามเณรนิโครธค่ะโดยนิโครธสามเณรได้กล่าวหัวข้อธรรมเรื่องความไม่ประมาทให้พระราชาหรือพระเจ้าอโศกได้สดับว่าอปฺปมาโทอมตํปทํความไม่ประมาทเป็นทางไม่ตายปมาโทมจฺจุโนปทํความประมาทเป็นทางแห่งความตายจากนั้นก็เทศน์ด้วยสำเนียงที่ไพเราะเพราะพริ้งนี่ขนาดถ่อมตนว่ารู้น้อยแล้วแต่เทศน์ได้ยอดเยี่ยมมากไพเราะทั้งเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายพระราชาพอได้สดับแล้วก็ปลื้มปีติในธรรมที่สามเณรน้อยได้แสดงอุปัชฌาย์พระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชนิโครธสามเณร

     หลังจากที่พระเจ้าอโศกมหาราชสิ้นพระชนม์พระองค์ก็ได้ไปบังเกิดเป็นงูเหลือมแหละค่ะพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชไปบังเกิดเป็นงูเหลือม

     อนาถบิณฑิกเศรษฐีเกิดในตระกูลมหาเศรษฐีในเมืองสาวัตถีบิดาชื่อว่าสุมนะมีทรัพย์สมบัติมากมายมหาศาลเมื่อเกิดมาแล้วบรรดาหมู่ญาติได้ตั้งชื่อให้ว่าสุทัตตะเป็นคนมีจิตเมตตาชอบทำบุญให้ทานแก่คนยากจนอนาถาอนาถบิณฑิกเศรษฐีอนาถบิณฑิกเศรษฐีอนาถบิณฑิกเศรษฐีอนาถบิณฑิกเศรษฐีมีจิตเมตตาชอบทำบุญให้ทานแก่คนยากจน



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ