| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ในพระวินัยปิฎกเล่มที่๔มหาวรรคภาค๑พระพุทธเจ้าระบุว่าบุคคลดังต่อไปนี้มิให้อุปสมบทได้แก่๑บัณเฑาะก์๒คนลักเพศหมายถึงคนที่บวชเองโดยไม่มีพระอุปัชฌาย์น่ะค่ะ๓ผู้นับถือศาสนาอื่น๔สัตว์เดรัจฉาน๕ผู้ทำมาตุฆาต๖ผู้ทำปิตุฆาต๗ผู้ฆ่าพระอรหันต์๘ผู้ข่มขืนภิกษุณี๙ผู้ทำสังฆเภท๑๐ผู้ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนห้อพระโลหิตและสุดท้าย๑๑คนสองเพศบุคคล๑๑จำพวกนี้ทรงห้ามมิให้อุปสมบทค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช),พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุปสมบทบุุคคลที่พระพุทธเจ้าไม่ให้บวชคนคนบุคคล๑๑จำพวกนี้ทรงห้ามมิให้อุปสมบท

     คัมภีร์อรรถกถาแต่งโดยพระอรรถกถาจารย์ซึ่งมีเป็นจำนวนหลายท่านมากและอรรถกถาจารย์ได้แต่งหนังสืออรรถกถาอธิบายไว้หมดครบทั้งหมดค่ะอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาแต่งโดยพระอรรถกถาจารย์

     คัมภีร์อรรถกถาเป็นหนังสือที่แต่งอธิบายความหรือคำที่ยากในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้นโดยยกศัพท์ออกมาอธิบายเป็นศัพท์ๆบ้างยกข้อความหรือประโยคยาวๆมาขยายความให้ชัดเจนขึ้นบ้างแสดงทัศนะและวินิจฉัยของผู้แต่งสอดแทรกเข้าไว้บ้างจึงเป็นหนังสือที่มีอุปการะแก่ผู้ศึกษาพระไตรปิฎกรุ่นหลังๆเป็นอย่างยิ่งค่ะอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาสำคัญอธิบายความหรือคำที่ยาก

     คือคัมภีร์ที่รวบรวมคำอธิบายความในพระไตรปิฎกภาษาบาลีเรียกว่าคัมภีร์อรรถกถาบ้างปกรณ์อรรถกถาบ้างจัดเป็นแหล่งความรู้ทางพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญรองลงมาจากพระไตรปิฎกและใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงอย่างแพร่หลายในวงการศึกษาพระพุทธศาสนาค่ะอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาอธิบายความในพระไตรปิฎก

     นอกเหนือจากจะเป็นคัมภีร์อรรถกถาคัมภีร์แรกๆที่ความสำคัญอย่างยิ่งในการอธิบายพระวินัยปิฎกแล้วยังเป็นคัมภีร์ที่บันทีกวัฒนธรรมประวัติศาสตร์วรรณกรรมและนานาศาสตร์ของอินเดียโบราณไว้อย่างพิสดารพันลึกโดยพระอรรถกถาจารย์ผู้รจนาได้อ้างอิงศาสตร์เหล่านี้ในการอธิบายพระวินัยปิฎกนั่นเองโดยเฉพาะอย่างยิ่งการบันทึกประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนาในยุคสมัยแห่งการสังคายนาครั้งที่๓มีการระบุผู้ที่เป็นประธานสงฆ์ในการสังคายนาครั้งที่๓การส่งคณะพระธรรมทูตไปประกาศพระศาสนาในดินแดนต่างๆโดยพระบรมราชโองการของพระเจ้าอโศกมหาราชอีกทั้งสมันตปาสาทิกายังมีการระบุว่าในการสังคายนาครั้งนั้นพระสังคีติภาณกาจารย์ได้จัดหมวดหมู่พระธรรมและพระวินัยออกเป็น๓หมวดใหญ่เรียกว่าปิฎกคือพระวินัยปิฎกประมวลพระพุทธพจน์ส่วนพระวินัยพระพุทธสุตตันตปิฎกประมวลพระพุทธพจน์ส่วนพระสูตรและพระอภิธรรมปิฎกประมวลพระพุทธพจน์ส่วนปรมัตถ์ค่ะสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกา

     พระพุทธโฆสะรจนาคัมภีร์สมันตัปปาสาทิกาขึ้นตามคำอาราธนาของพระเถระผู้มีนามว่าพระพุทธสิริเมื่อประมาณพศ๙๒๗ถึง๙๗๓ณเมืองอนุราธปุระในศรีลังกาในรัชสมัยของพระเจ้าสิริปาละในอารัมภบทของคัมภีร์ท่านผู้รจนาได้ชี้แจงว่าคัมภีร์นี้เป็นอรรถกถาแรกที่ท่านได้แต่งขึ้นเพื่ออธิบายความในพระไตรปิฎกท่านผู้รจนายังได้ชี้แจงด้วยว่าเหตุที่แจ่งอรรถกถาพระวินัยปิฎกก่อนพระสูตรตามลำดับของคำว่าพระธรรมวินัยนั่นก็ด้วยเหตุที่ท่านได้พิจารณาแล้วว่าพระวินัยคือรากฐานของพระศาสนาทัศนะของพระพุทธโฆษจารย์เกี่ยวกับความสำคัญของพระวินัยสอดคล้องกับเนื้อความในสมันตปาสาทิกาที่ระบุถึงเหตุการณ์หลังจากที่พระอานนท์สำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้วเข้าร่วมการสังคายนาครั้งแรกดังว่า"เมื่อพระอานนท์นั้นนั่งแล้วอย่างนั้นพระมหากัสสปเถระจึงปรึกษาภิกษุทั้งหลายว่าผู้มีอายุทั้งหลาย!พวกเราจะสังคายนาอะไรก่อนพระธรรมหรือพระวินัยภิกษุทั้งหลายเรียนว่าข้าแต่ท่านพระมหากัสสป!ชื่อว่าพระวินัยเป็นอายุของพระพุทธศาสนาเมื่อพระวินัยยังตั้งอยู่พระพุทธศาสนาจัดว่ายังดำรงอยู่"สมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาขยายความพระวินัยปิฎก

     ลักษณะการอธิบายความในพระไตรปิฎกของอรรถกถานั้นไม่ได้นำทุกเรื่องในพระไตรปิฎกมาอธิบายแต่นำเฉพาะบางศัพท์วลีประโยคหรือบางเรื่องที่อรรถกถาจารย์เห็นว่าควรอธิบายเพิ่มเติมเท่านั้นค่ะอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาที่อรรถกถาจารย์เห็นว่าควรอธิบายเพิ่มเติม

     สมันตปาสาทิกาแบ่งเป็น๓ภาคคือภาคที่๑อธิบายความในเวรัญชกัณฑ์ถึงปาราชิกกัณฑ์แห่งมหาวิภังค์ภาค๑ว่าด้วยวินัยที่เป็นหลักใหญ่ของภิกษุภาคที่๒อธิบายความในเตรสกัณฑ์ถึงอนิยตกัณฑ์แห่งมหาวิภังค์ภาค๑และในนิสสัคคีย์กัณฑ์ถึงอธิกรณสมถะแห่งมหาวิภังค์ภาค๒รวมทั้งอธิบายความในภิกขุนีวิภังค์ว่าด้วยวินัยที่เป็นหลักใหญ่ของภิกษุณีและภาคที่๓อธิบายความในมหาวรรคภาค๑ถึง๒จุลลวรรคภาค๑ถึง๒และปริวารซึ่งว่าด้วยกำเนิดภิกษุสงฆ์และระเบียบความเป็นอยู่และกิจการของภิกษุสงฆ์และว่าด้วยระเบียบความเป็นอยู่และกิจการของภิกษุสงฆ์เรื่องภิกษุณีและสังคายนารวมถึงหมวดที่ว่าด้วยคู่มือถามตอบซักซ้อมความรู้พระวินัยโดยสังเขปเล้วสมันตปาสาทิกามีเนื้อหาแบ่งออกเป็น๒ประเภทคือเนื้อหาหลักที่เกี่ยวกับพระธรรมวินัยอาทิมูลเหตุทำสังคายนาครั้งแรกการสังคายนาครั้งต่อมาๆคือครั้งที่๒๓และ๔มีการอธิบายเรื่องพระพุทธคุณ๙มีการอธิบายเรื่องสติสมาธิปฏิสัมภิทาจิตวิญญาณอินทรีย์และมีการอธิบายเรื่องอาบัติปาราชิกสังฆาทิเสสเป็นต้นทั้งของภิกษุและภิกษุณีนอกจากนี้ยังมีการบันทึกและระบุถึงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ต่างๆเช่นประวัติของพระเจ้าอโศกมหาราชประวัติพระเจ้าอชาตศัตรูตลอดจนพระเจ้าอุทัยภัทท์พระเจ้าอนุรุทธะและพระเจ้ามุณฑะซึ่งเป็นกษัตริย์ปกครองแคว้นมคธประวัติการเกิดข้าวยากหมากแพงในเมืองเวรัญชาเป็นต้นในส่วนที่ให้ข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์เช่นชัยภูมิที่ตั้งเมืองต่างๆเช่นกุสินาราจัมปาสาวัตถีและดินแดนสุวรรณภูมิเป็นต้นสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกา

     สมันตัปปาสาทิกาหรือสมันตปาสาทิกาคือคัมภีร์อรรถกถาที่อธิบายขยายความพระวินัยปิฎกพระพุทธโฆษจารย์หรือพระพุทธโฆสะเป็นผู้แต่งคัมภีร์สมันตปาสาทิกานี้ขึ้นในช่วงปีก่อนพศ๑๐๐๐โดยรจนาเป็นภาษาบาลีอาศัยอรรถกถาพระไตรปิฎกที่มีอยู่ในภาษาสิงหฬชื่อมหาอัฏฐกถาเป็นหลักพร้อมทั้งอ้างอิงจากคัมภีร์มหาปัจจริยะและคัมภีร์กุรุนทีนอกจากจะเป็นคัมภีร์อรรถกาที่อธิบายความของพระวินัยปิฎกแล้วท่านผู้รจนายังได้สอดแทรกและบันทึกข้อมูลอันทรงคุณค่าด้านสังคมการเมืองจริยธรรมศาสนาและประวัติศาสตร์ปรัชญาในยุคโบราณของอินเดียไว้อย่างมากมายผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณคดีบาลีชี้ว่าสมันตัปปาสาทิกาได้หยิบยืมคาถาหลายบทมาจากคัมภีร์ทีปวงศ์ซึ่งรจนาก่อนหน้านั้นนอกจากนี้ยังระบุว่าชื่อของคัมภีร์อรรกถานี้คือสมันตัปปาสาทิกามาจากคำว่าสมันตะที่บ่งนัยถึงทิศทั้ง๔และคำว่าปาสาทิกาซึ่งแปลว่าร่มเย็นราบคาบทั้งนี้คัมภีร์ชั้นฎีกาที่อธิบายความในคัมภีร์สมันตัปปาสาทิกาคือสารัตถทีปนีซึ่งพระสารีบุตรเถระแห่งเกาะลังกาเป็นผู้รจนาในรัชกาลของพระเจ้าปรักกมพาหุที่๑แห่งลังกาพศ๑๖๙๖ถึง๑๗๒๙และในปัจจุบันสมันตัปปาสาทิกยังาถูกใช้เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยในระดับชั้นเปรียญธรรม๖ประโยคนอกจากนี้ยังมีการแปลเป็นภาษาจีนตั้งแต่เมื่อปีคศ๔๘๙โดยพระสังฆะภัทระสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาขยายความพระวินัยปิฎก

     อัดถะกะถาอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาอ่าน

     เพราะอรรถกถาจารย์เห็นว่าเนื้อหาในพระไตรปิฎกส่วนนั้นเข้าใจได้ง่ายอยู่แล้วน่ะสิคะอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาอรรถกถาเข้าใจได้ง่ายอยู่แล้ว

     คงลืมไปสิคะว่าชีวิตมนุษย์มีเวลาจำกัดนะคะชมรมพุทธเบญจจินดา๑๒กุมภาพันธ์๒๕๕๗

     ทราบด้วยเหรอคะเนี่ยแล้วอย่างนี้จะนับนิพพานเป็นอะไรดีเหรอคะนิพพานนิพพานนิพพานถือว่าเป็นอะไรนิพพานนี่เค้าถือว่าเป็นอะไรเหรอสถานะสงสัย

     การทำนายหรือคาดการณ์โดยอาศัยหลักวิชาค่ะชมรมพุทธเบญจจินดาพยากรณ์พยากรณ์พยากรณ์ทำนาย

     ก็มีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุดอยู่แล้วนี่คะพึ่งพระรัตนตรัย

     ก็จิตผูกพันกับอยู่กับบุญกับพระรัตนตรัยผ่องใสแน่นอนคร้า~ชมรมพุทธเบญจจินดา๑๒กุมภาพันธ์๒๕๕๗ตายแล้วจะเป็นอย่างไรจิตผ่องใสจิตผ่องใสผูกพันอยู่กับพระรัตนตรัย

     ก็ต้องละชั่วเพื่อปิดอยายศีลหน่ะค่ะทำดีเพื่อเปิดทางสวรรค์ก็ทานทำจิตให้ผ่องใสเพื่อหลุดพ้นจากทุกข์ไปสู่นิพพานก็สมาธินั่นเองคร้า~ชมรมพุทธเบญจจินดา๑๒กุมภาพันธ์๒๕๕๗การดำเนินชีวิตความไม่ประมาทศีลทานสมาธิ

     ก็ถ้าทำใจอยู่กลางตัวจะสามารถตัดสินใจได้ถูกต้องมากกว่าคิดหรือพิจารณาด้วยใจที่ไม่หยุดนิ่งหรือเมื่อใจหยุดนิ่งร้อยละร้อยนั่นคือเข้าถึงการเป็นพระอรหันต์แล้วการคิดการตัดสินใจย่อมไม่มีผิดพลาดความกลัวที่เกิดจากอาชีพิตภัยภัยเนืื่องด้วยการครองชีพจึงไม่มีค่ะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙พระรัตนตรัยพระรัตนตรัยพระรัตนตรัยไม่มีผิด

     ก็พอใจหยุดนิ่งแล้วความคิดย่อมถูกต้องเพราะเห็นตรงตามความเป็นจริงเมื่อความคิดถูกคำพูดการกระทำก็ถูกตามด้วยเมื่อคิดถูกพูดถูกทำถูกย่อมไม่มีทางเสียชื่อเสียงความกลัวจึงหมดไปค่ะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙พระรัตนตรัยพระรัตนตรัยพระรัตนตรัยคิดพูดทำถูก

     ก็มีนะคะพระวังคีสเถระค่ะอรหันตสาวกรูปหนึ่งก่อนบวชท่านเชี่ยวมนต์อยู่อันนึงคือท่านใช้เล็บดีดกะโหลกศรีษะคนที่ตายไม่เกิน๓ปีท่านจะสามารถทำนายได้ว่าผู้ตายไปเกิดที่ไหนค่ะต่อมาพบพระพุทธเจ้าแต่ก็ต้องยอมต่อพระองค์และขอบวขเรียนกับพระพุทธเจ้าค่ะชมรมพุทธเบญจจินดาพระวังคีสเถระพระวังคีสเถระพระวังคีสเถระดีดกะโหลก

     ก็อบายภูมิ๔มีสัตว์เดรัจฉานเปรตอสุรกายและสัตว์นรกค่ะชมรมพุทธเบญจจินดา๑๒กุมภาพันธ์๒๕๕๗ทุคติทุคติทุคติอบายภูมิ๔

     ก็เพราะพวกเค้าเชื่อว่าความร้อนของไฟจะช่วยดับกิเลสในตัวให้หมดลงได้หน่ะสิคะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๗กันยายนพศ๒๕๕๙บูชาไฟบูชาไฟบูชาไฟดับกิเลส

     ก็โชคดีฤกษ์ดีผลดีเกิดเพราะกรรมคือการกระทำไม่ใช่จากดวงดาวโชคชะตาหรือฟ้าลิขิตนี่คะชมรมพุทธเบญจจินดาโหราศาสตร์โหราศาสตร์โหราศาสตร์ผู้พยากรณ์



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ