ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ญาตัตถจริยาแปลว่าการประพฤติประโยชน์ต่อญาติการบำเพ็ญประโยชน์ให้แก่ญาติค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาการบำเพ็ญประโยชน์แก่ญาติ
ญายธรรมมีความหมายสูงสุดคือพระนิพพานพระอริยสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเพื่อบรรลุญายธรรมและสามารถบรรลุถึงได้แล้วเรียกกันว่าญายปฏิปันโนค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญายธรรมญายธรรมญายธรรมญายธรรมความหมายสูงสุดคือพระนิพพาน
ญายธรรมแปลว่าความจริงความเหมาะสมความถูกต้องวิธีที่ถูกต้องหนทางที่ถูกต้องค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญายธรรมญายธรรมญายธรรมญายธรรมหนทางที่ถูกต้อง
ญายปฏิปันโนหมายถึงผู้ปฏิบัติเพื่อเข้าถึงความจริงความถูกต้องผู้ปฏิบัติเพื่อออกจากทุกข์ในวัฏฏะผู้ปฏิบัติไปตามปฏิปทาที่ถูกต้องคือมุ่งตรงไปเพื่อบรรลุพระนิพพานซึ่งเป็นญายธรรมสูงสุดและยังเป็นลักษณะหรือคุณสมบัติของพระอริยสงฆ์ที่เรียกว่าสังฆคุณข้อหนึ่งในจำนวน๙ข้อค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนผู้ปฏิบัติเพื่อเข้าถึงความจริง
ญายปฏิปันโนแปลว่าผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุญายธรรมผู้ดำเนินไปในหนทางที่ถูกต้องค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุญายธรรม
ฐานานุรูปหมายถึงตามความพอดีพอเหมาะพอควรพอสมน้ำสมเนื้อใช้ในกรณีปฏิบัติกิจการการใช้จ่ายการต้อนรับการดำรงชีพเป็นต้นคือให้เป็นไปอย่างพอดีพอเหมาะพอควรไม่ให้เกินเลยฐานะไปหรือมักง่ายหย่อนยานไปจนน่าเกลียดเช่นใช้ว่า"จะต้อนรับขับสู้อย่างไรก็ให้เป็นไปตามฐานานุรูปก็แล้วกันจะได้ไม่เดือดร้อน""ดูตามฐานานุรูปแล้วไม่น่าจะเป็นอย่างนี้ไปได้เลย"พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ฐานานุรูปฐานานุรูปฐานานุรูปฐานานุรูปตามความพอดี
ฐานานุรูปแปลว่าตามสมควรแก่ฐานะตามสมควรแก่ตำแหน่งตามสมควรแก่เหตุการณ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ฐานานุรูปฐานานุรูปฐานานุรูปฐานานุรูปตามสมควรแก่ฐานะ
การบวชสามเณรหน้าไฟคือการบรรพชาสามเณรหรือบวชเณรที่นิยมบวชเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ตายโดยปรกติการบวชหน้าไฟมักจะบวชกันในวันเผาศพโดยเมื่อทำพิธีฌาปนกิจเสร็จก็มักจะสึกเรียกตามภาษาชาวบ้านคือบวชเช้าสึกเย็นที่เรียกว่าหน้าไฟจึงน่าจะมีสาเหตุมาจากบวชเพียงเพื่อเป็นเณรอยู่หน้าไฟเท่านั้นการบวชสามเณรหน้าไฟเป็นความเชื่อที่สืบทอดกันมาเป็นประเพณีนิยมโดยผู้บวชและญาติพี่น้องเชื่อว่าการบวชเณรหน้าไฟจะทำให้ผู้วายชมน์ได้บุญมากดังนั้นเราจึงมักเห็นการบวชลักษณะนี้ได้ทั่วไปในงานพิธีศพอีกประการหนึ่งการบวชเณรกระทำง่ายเพียงแค่โกนศีรษะและเตรียมจีวรเข้าไปหาอุปัชฌาย์ก็สามารถทำการบวชได้แล้วดังนั้นการบวชเณรจึงไม่ยุ่งยากเหมือนการบวชพระภิกษุซึ่งมีขั้นตอนในการรับรองในทางพระวินัยมากมายคนทั่วไปจึงนิยมบวชเณรหน้าไฟมากกว่าบวชพระหน้าไฟเทวประภาสมากคล้ายเปรียญเอกสารแนะนำวัดคุ้งตะเภาอุตรดิตถ์วัดคุ้งตะเภา,๒๕๔๙เณรหน้าไฟบวชหน้าไฟบวชหน้าไฟบวชหน้าไฟบวชเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ตาย
กามตัณหาคือความอยากหรือไม่อยากในสัมผัสทั้ง๕คือรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะกามตัณหากามตัณหากามตัณหาความอยากหรือไม่อยาก
ขนโลมาหนึ่งในอวัยวะ๕อย่างที่ใช้ในตจปัญจกกรรมฐาน
ตจปัญจกกรรมฐานอ่านว่าตะจะปันจะกะกำมะถานแปลว่ากรรมฐานที่มีหนังเป็นที่ครบห้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตจปัญจกกรรมฐานตจปัญจกกรรมฐานตจปัญจกกรรมฐานตจปัญจกกรรมฐานมีหนังเป็นที่ครบห้า
ตถตาเป็นคำสรุปรวมของเรื่องปฏิจจสมุปบาทหรืออิทัปปัจจยตาซึ่งครอบโลกให้เหลืออยู่เพียงว่าตถตาเป็นอย่างนั้นซึ่งแบ่งย่อยออกเป็นดังนี้อวิตถตาไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้นอนัญญถตาไม่เป็นไปโดยประการอื่นจากความเป็นอย่างนั้นธัมมัฏฐิตตาเป็นความตั้งอยู่โดยความเป็นธรรมดาของธรรมชาติธัมมนิยามตาเป็นกฎตายตัวของธรรมดาทั้งหมดนี้มันยุ่งยากลำบากมากเรื่องไม่ต้องจำก็ได้จำคำว่าตถตาไว้คำเดียวพอแปลว่าเป็นเช่นนั้นเป็นเช่นนั้นเองการเห็นอนิจจังทุกขังอนัตตาคือเห็นเช่นนั้นเองหรือจะแยกออกไปเป็นว่ามันปรุงแต่งกันออกไปเป็นสายยาวเป็นปฏิจจสมุปบาทกระทั่งว่ามีอายตนะมีผัสสะมีเวทนามีตัณหามีอุปาทานมีทุกข์มันก็คือเช่นนั้นเองที่ต้องทุกข์ก็เพราะว่าเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้นขณะใดไม่ต้องทุกข์เพราะว่ามันเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้นฉะนั้นเรามีเช่นนั้นเองไว้เป็นเครื่องดับทุกข์เถอะอะไรเกิดขึ้นมาก็เห็นเป็นเช่นนั้นเองไว้ก่อนแล้วก็จะไม่รักจะไม่เกลียดจะไม่โกรธจะไม่กลัวไม่วิตกกังวลอะไรหมดเพราะมันเช่นนั้นเองถ้ามันเกิดทุกข์ขึ้นมาเราก็เห็นเช่นนั้นเองของความทุกข์แล้วก็หาเช่นนั้นเองของความดับทุกข์ที่มันเป็นคู่ปรปักษ์กันเข้ามาซี่เช่นนั้นเองอย่างนี้มันเป็นทุกข์เช่นนั้นเองที่มันดับทุกข์ก็เอาเข้ามามาฟัดกันกับเช่นนั้นเองเช่นนั้นเองกับเช่นนั้นเองมันก็ฆ่ากันเองในที่สุดความทุกข์มันก็ดับไปเพราะเรามีเช่นนั้นเองฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายพระนิพพานพุทธศาสนาเรียนได้ในพริบตาเดียวก็ด้วยคำว่าเช่นนั้นเองหัวใจของปฏิจจสมุปบาทสรุปอยู่ที่คำว่าเช่นนั้นเองปฏิจจสมุปบาทคือคำสอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนาคือสอนว่าทุกข์เกิดขึ้นอย่างไรและดับไปอย่างไรสมตามที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า"ฉันไม่พูดเรื่องอื่นฉันพูดแต่เรื่องความทุกข์และความดับทุกข์เท่านั้นเดี๋ยวนี้ก็ดีต่อไปข้างหน้าก็ดี"คือให้ความทุกข์และความดับทุกข์นี้มันรวมอยู่ในคำว่าเช่นนั้นเองเรียกว่าตถตาก็ได้ตถาตาก็ได้ตถาเฉยๆก็ได้หมายถึงสิ่งทั้งปวงเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติตามเหตุปัจจัยไม่มีใครสร้างใครบันดาลให้มีให้เกิดขึ้นแต่เป็นเช่นนั้นขึ้นมาเองปัจจัยสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๑๖ตถตาตถตา
ตถาคตแปลได้หลายนัยค่ะคือแปลว่าผู้เสด็จมาอย่างนั้นผู้เสด็จไปอย่างนั้นผู้เสด็จมาสู่ลักษณะที่แท้ผู้ตรัสรู้ธรรมที่แท้จริงตามที่เป็นจริงผู้ทรงรู้เห็นอารมณ์ที่แท้จริงผู้มีพระวาจาที่แท้จริงผู้ตรัสอย่างไรทรงทำอย่างนั้นผู้ทรงครอบงำตถาคตตถาคตแปลว่าอะไร
ตถาคตโพธิสัทธาเชื่อความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้ามั่นใจในองค์พระตถาคตว่าเป็นพระสัมมาสัมพุทธะทรงพระคุณทั้ง๙ประการตรัสธรรมบัญญัติวินัยไว้ด้วยดีทรงเป็นผู้นำทางที่แสดงให้เห็นว่ามนุษย์คือเราทุกคนนี้หากฝึกตนด้วยดีก็สามารถเข้าถึงภูมิธรรมสูงสุดบริสุทธิ์หลุดพ้นได้ดังที่พระองค์ทรงบำเพ็ญไว้ตถาคตโพธิสัทธา
ตทังควิมุตติคือการพ้นไปจากอำนาจของตัวกูของกูด้วยอำนาจของสิ่งที่บังเอิญประจวบเหมาะ
ตบะแปลว่าความเพียรอันเป็นเครื่องเผาผลาญกิเลสพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตบะตบะ
ตบะในที่ทั่วไปหมายถึงการบำเพ็ญเพียรเพื่อให้กิเลสเบาบางหดเหี้ยนหมดไปด้วยการทำพิธีกรรมหรือด้วยการทรมานกายแบบต่างๆเช่นบูชาไฟยืนขาเดียวทาตัวด้วยฝุ่นเป็นต้นเรียกว่าบำเพ็ญตบะเรียกผู้บำเพ็ญตบะว่าดาบสซึ่งแปลว่าผู้บำเพ็ญตบะคือเผาผลาญกิเลสตบะในพระพุทธศาสนาใช้หมายถึงธรรมต่างๆที่มุ่งกำจัดเผาผลาญอกุศลวิตกหรือความตรึกที่เป็นบาปอกุศลเป็นหลักเช่นปธานความเพียรขันติความอดทนศีลการรักษากายวาจาอุโบสถกรรมการรักษาอุโบสถศีลการเล่าเรียนปริยัติการถือธุดงค์การบำเพ็ญสมณธรรมและเรียกการประพฤติปฏิบัติธรรมเหล่านี้ว่าบำเพ็ญตบะเช่นกันพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตบะตบะ
ตรัสรู้แปลว่ารู้แจ้งรู้อย่างแจ่มแจ้งรู้ชัดเจนใช้เป็นคำเฉพาะสำหรับพระพุทธเจ้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตรัสรู้ตรัสรู้ตรัสรู้ตรัสรู้รู้แจ้ง
ตลกบาตรคือถุงใส่บาตรที่มีสายสำหรับคล้องบ่าเรียกว่าถลกบาตรก็มีเป็นคำเรียกรวมแต่เมื่อแยกส่วนออกจะมีส่วนประกอบคือสายโยกคือสายของตลกบาตรสำหรับคล้องบ่าและตะเครียวคือถุงตาข่ายที่ถักด้วยด้ายหรือไหมเป็นตาโปร่งมีหูรูดหุ้มตลกบาตรอีกชั้นหนึ่งเรียกว่าตะเครียวก็มีตลกบาตรปกติพระอุปัชฌาย์จะคล้องให้แก่พระบวชใหม่ในตอนทำพิธีบวชและพระส่วนใหญ่จะใช้เวลาออกบิณฑบาตพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตรัสรู้ตลกบาตร
ตักศิลาหรือตักสิลาอ่านว่าตักกะสิลาในภาษาบาลีหรือตักษศิลาในภาษาสันสกฤตเป็นชื่อเมืองอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐปัญจาบเป็นมหาวิทยาลัยและเป็นศูนย์กลางของศิลปวิชาการในอดีตของอินเดียตั้งแต่ก่อนพุทธกาลมีสำนักอาจารย์ทิศาปาติโมกข์สั่งสอนศิลปวิทยาต่างๆแก่ศิษย์ที่มาเล่าเรียนในแถบดินแดนชมพูทวีปบุคคลสำคัญและมีชื่อเสียงหลายท่านที่สำเร็จการศึกษาจากที่แห่งนี้อาทิเช่นเช่นพระเจ้าปเสนทิโกศลหมอชีวกโกมารภัจจ์และองคุลีมาลตักศิลาเมืองตักศิลาตักศิลาเมืองตักศิลาศูนย์กลางของศิลปวิชาการ
ตักศิลาได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่๔เมื่อปีพศ๒๕๒๓ที่กรุงปารีสประเทศฝรั่งเศสด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้วมีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์ตักศิลาเมืองตักศิลาตักศิลาเมืองตักศิลานครหลวงแคว้นคันธาระ
ตัณหา๖หมวดได้แก่รูปตัณหาคืออยากได้รูปที่มองเห็นด้วยตาสัททตัณหาคืออยากได้เสียงคันธตัณหาคืออยากได้กลิ่นรสตัณหาคืออยากได้รสโผฏฐัพพตัณหาคืออยากได้โผฏฐัพพะความรู้สึกทางกายสัมผัสธัมมตัณหาคืออยากในธรรมารมณ์สิ่งที่ใจนึกคิดความเกิดขึ้นความตั้งอยู่ความบังเกิดความปรากฏแห่งตัณหาทั้ง๖นี้เป็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ความดับโดยไม่เหลือความสงบระงับความสูญแห่งตัณหาทั้ง๖นี้เป็นความดับโดยไม่เหลือแห่งทุกข์ตัณหาทั้ง๖นี้ไม่เที่ยงมีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดาผู้เห็นอยู่อย่างนี้ย่อมเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัดตัณหาตัณหา๖ตัณหา๖ตัณหาความเกิดขึ้นแห่งทุกข์
ตาลปัตรของเดิมเป็นพัดที่ทำจากใบตาลหรือใบลานสำหรับพัดตัวเองเวลาร้อนหรือพัดไฟใช้กันทั้งพระและคฤหัสถ์ต่อมามีการต่อด้ามให้ยาวขึ้นและใช้บังหน้าเวลาทำพิธีทางศาสนาของพระสงฆ์เช่นในเวลาให้ศีลและให้พรและแม้ภายหลังจะใช้ผ้าสีต่างๆหุ้มลวดหรือไม้ไผ่ซึ่งขึ้นรูปเป็นพัดก็อนุโลมเรียกว่าตาลปัตรตาลปัตรปัจจุบันนิยมปักลวดลายศิลปะแสดงสัญลักษณ์ของงานและอักษรบอกงานพร้อมวันเดือนปีไว้ด้วยทำให้มีคุณค่าทางศิลปะขึ้นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์เดิมตาลปัตรที่ใช้ทั่วไปเรียกว่าพัดรองเป็นคู่กับคำว่าพัดยศซึ่งเป็นพัดพระราชทานบอกตำแหน่งชั้นสมณศักดิ์จึงนิยมเรียกันว่าตาลปัตรพัดยศพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตาลปัตรตาลปัตรตาลปัตรตาลปัตรใช้บังหน้าเวลาทำพิธี
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ