| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     อืมมมถือเป็นการยกระดับเป้าหมายทำความดีเพื่อบุญกุศลไรเงี้ยค่ะเพราะไม่ได้หวังผลตอบแทนในชาตินี้แล้วหวังภพหน้าแทน~~และเป็นการปล่อยวางความยึดมั่นในชีวิตหรือภพชาติปัจจุบันค่ะ ชมรมพุทธเบญจจินดา อนุปุพพิกถา อนุปุพพิกถา สวรรค์ สวรรค์ เปล่าค่ะ

     เพราะทานคือการให้เป็นจุดเริ่มต้นของความดีและผู้ให้ย่อมเป็นที่รักค่ะเป็นการปล่อยวางความยึดมั่นในทรัพย์สินเงินทองซึ่งเป็นเรื่องที่หยาบที่สุดและก็ทำได้ง่ายที่สุดแล้วค่ะ ชมรมพุทธเบญจจินดา อนุปุพพิกถา อนุปุพพิกถา ทาน ทาน เปล่านี่คะ

     เพราะศีลคือมหาทานเป็นการให้ความปลอดภัยแก่สรรพสัตว์ทั้งหลายและศีลย่อมเป็นเกราะคุ้มภัยแก่ผู้รักษาด้วยนะคะและก็ยังเป็นการปล่อยวางความอยากเอาแต่ใจตัวเองอีกด้วยค่ะ ชมรมพุทธเบญจจินดา อนุปุพพิกถา อนุปุพพิกถา ศีล ศีล เปล่านี่คะ

     เพราะเป็นการยกระดับเป้าหมายการทำความดีขึ้นไปอีกคือเพื่อความสุขแบบที่ไม่ข้องด้วยกามเป็นการปล่อยวางความยึดมั่นในกามสุขค่ะ ชมรมพุทธเบญจจินดา อนุปุพพิกถา อนุปุพพิกถา โทษของกาม โทษของกาม เปล่าค่ะ

     เพราะเป็นการยกใจสู่ความพ้นโลกหรือก็คือยกใจให้พ้นจากโลกียะไปสู่โลกุตตระนั่นเลยแหละค่ะเป็นการปล่อยวางในภพในวัฏฏะค่ะ ชมรมพุทธเบญจจินดา อนุปุพพิกถา อนุปุพพิกถา ข้อดีของการออกจากกาม ข้อดีของการออกจากกาม เปล่าค่ะ

     การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณค่ะเป็นหนึ่งในญาณ๓หรือญาณทัสสนะด้วยค่ะอริยสัจ_อริยสัจ๔

     ตทังคนิโรธดับด้วยองค์นั้นๆคือดับกิเลสด้วยธรรมที่เป็นคู่ปรับหรือธรรมที่ตรงข้ามเช่นดับสักกายทิฏฐิด้วยความรู้ที่กำหนดแยกรูปนามออกได้เป็นการดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆตทังคนิโรธ

     ทุกขนิโรธคือความดับทุกข์ได้แก่ดับสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์กล่าวคือดับตัณหาทั้ง๓ได้อย่างสิ้นเชิงอริยสัจ_อริยสัจ๔ทุกขนิโรธทุกขนิโรธความดับทุกข์

     ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาคือแนวปฏิบัติที่นำไปสู่หรือนำไปถึงความดับทุกข์ได้แก่มรรคอันมีองค์ประกอบอยู่แปดประการคือ ๑สัมมาทิฏฐิความเห็นชอบ ๒สัมมาสังกัปปะความดำริชอบ ๓สัมมาวาจาเจรจาชอบ ๔สัมมากัมมันตะทำการงานชอบ ๕สัมมาอาชีวะเลี้ยงชีพชอบ ๖สัมมาวายามะพยายามชอบ ๗สัมมาสติระลึกชอบและ ๘สัมมาสมาธิตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่ามัชฌิมาปฏิปทาหรือทางสายกลางค่ะอริยสัจ_ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา มรรค ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ทางสายกลาง

     ทุกขสมุทัยคือสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ได้แก่ตัณหา๓คือกามตัณหาความทะยานอยากในกามความอยากได้ทางกามารมณ์,ภวตัณหาความทะยานอยากในภพความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ความอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิและวิภวตัณหาความทะยานอยากในความปราศจากภพความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิค่ะอริยสัจ_อริยสัจ๔

     ทุกข์คือสภาพที่ทนได้ยากภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้สภาพที่บีบคั้นได้แก่ชาติการเกิดชราการแก่การเก่ามรณะการตายการสลายไปการสูญสิ้นการประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รักการพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักการปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้นกล่าวโดยย่อทุกข์ก็คืออุปาทานขันธ์หรือขันธ์๕ค่ะอริยสัจ_ทุกข์ทุกข์ทุกข์เกิดแก่เจ็บตาย

     ทุกข์หรือทุกขังเป็นหลักธรรมสำคัญในพระพุทธศาสนาแปลว่าทนอยู่ในสภาพเดิมได้ยากโดยทั่วไปหมายถึงสังขารธรรมอันได้แก่ขันธ์๕คือสังขารทั้งปวงล้วนเป็นที่ตั้งของกองทุกข์ทุกข์ทุกข์

     นิสสรณนิโรธดับด้วยสลัดออกได้หรือดับด้วยปลอดโปร่งไปคือดับกิเลสเสร็จสิ้นแล้วดำรงอยู่ในภาวะที่ดับกิเลสแล้วนั้นยั่งยืนตลอดไปภาวะนั้นชื่อนิสสรณนิโรธได้แก่อมตธาตุคือนิพพานนิสสรณนิโรธ

     นิโรธคือความสำรอกออกสลัดทิ้งปลดปล่อยไม่มีเยื่อใยสมุทัยอันเป็นบ่อเกิดทุกข์ได้สิ้นเชิงหมายถึงการทำลายสมุทัยและดับสมุทัยคือตัวตัณหาให้สิ้นไปจนไม่เกิดขึ้นได้อีกเหมือนไฟที่สิ้นเชื้อด้วยอำนาจการดำเนินตามมรรคจนได้บรรลุมรรคนั้นๆนิโรธจัดเป็นอริยสัจอันดับที่๓ในอริยสัจ๔คือทุกข์สมุทัยนิโรธมรรคนิโรธโดยภาวะคือนิพพานนั่นเองค่ะนิโรธนิโรธนิโรธนิโรธสลัดทิ้ง

     นิโรธอ่านว่านิโรดแปลว่าความดับทุกข์นิโรธนิโรธแปลว่าอะไร

     นิโรธ๕หมายถึงความดับกิเลสภาวะไร้กิเลสและไม่มีทุกข์เกิดขึ้นนิโรธเป็นธรรมะที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้นิโรธมี๕ประการค่ะนิโรธนิโรธนิโรธ๕นิโรธ๕ความดับกิเลส

     นิโรธสมาบัติหมายถึงการเข้าถึงความดับสัญญา(ความจำ)และเวทนา(ความรับอารมณ์)ทั้งหมดซึ่งสามารถดับได้ถึง๗วันเรียกว่าเข้านิโรธสมาบัติเรียกย่อว่าเข้านิโรธเรียกเต็มว่าเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธนิโรธสมาบัติต้องเป็นพระอรหันต์และพระอนาคามีผู้ได้สมาบัติ๘จึงจะสามารถเข้าได้ถือกันมาว่าผู้ได้ถวายอาหารแด่พระสงฆ์ผู้ออกจากนิโรธสมาบัติมื้อแรกจะได้รับอานิสงส์ในปัจจุบันทันตาทั้งนี้เพราะเป็นอาหารมื้อสำคัญหลังจากที่ท่านอดมาถึง๗วันร่างกายจึงต้องการอาหารมากเป็นพิเศษพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘นิโรธสมาบัตินิโรธสมาบัติ

     นิโรธสมาบัติอ่านว่านิโรดสะมาบัดหรือจะออกเสียงนิโรดทะก็ได้ค่ะแปลว่าการเข้านิโรธการเข้าถึงความดับพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘นิโรธสมาบัตินิโรธสมาบัติแปลว่าอะไร

     ปฏิปัสสัทธินิโรธดับด้วยสงบระงับคืออาศัยโลกุตตรมรรคดับกิเลสเด็ดขาดไปแล้วบรรลุโลกุตตรผลกิเลสเป็นอันสงบระงับไปหมดแล้วไม่ต้องขวนขวายเพื่อดับอีกในขณะแห่งผลนั้นชื่อปฏิปัสสัทธินิโรธปฏิปัสสัทธินิโรธ

     มรรค๔คือโสดาปัตติมรรคสกิทาคามิมรรคอนาคามิมรรคอรหัตมรรคพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โลกุตระมรรค๔มรรค๔มรรค๔ผล

     มีทุกข์ทุกขสมุทัยทุกขนิโรธและทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาค่ะอริยสัจ_อริยสัจ๔อริยสัจอริยสัจทุกข์ทุกขสมุทัยทุกขนิโรธทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา

     วิกขัมภนนิโรธดับด้วยข่มไว้คือการดับกิเลสของท่านผู้บำเพ็ญฌานถึงปฐมฌานขึ้นไปย่อมข่มนิวรณ์ไว้ได้ตลอดเวลาที่อยู่ในฌานนั้นวิกขัมภนนิโรธ

     สมุจเฉทนิโรธดับด้วยตัดขาดคือดับกิเลสเสร็จสิ้นเด็ดขาดด้วยโลกุตตรมรรคในขณะแห่งมรรคนั้นชื่อสมุจเฉทนิโรธสมุจเฉทนิโรธ



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ