ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ตาลปัตรอ่านว่าตาละปัดตามรูปศัพท์แปลว่าพัดใบตาลพัดใบลานพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตาลปัตรตาลปัตรตาลปัตรตาลปัตรพัดใบตาล
ติสรณคมนูปสัมปทาไตรสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนอุปสัมปทาหรือไตรสรณคมนอุปสัมปทาแปลว่าการอุปสมบทด้วยการเข้าถึงไตรสรณะหมายถึงการบวชเป็นภิกษุโดยการรับไตรสรณคมน์หมายถึงการอุปสมบทเป็นภิกษุแบบหนึ่งในพระพุทธศาสนากล่าวคือในสมัยต้นพุทธกาลพระพุทธเจ้าประทานอุปสมบทเองเรียกว่าเอหิภิกขุอุปสัมปทาต่อมาทรงอนุญาตให้พระสาวกบวชกุลบุตรให้เป็นภิกษุได้โดยวิธีให้กุลบุตรนั้นรับไตรสรณคมน์เท่านั้นซึ่งการบวชแบบนี้สำเร็จได้โดยบุคคลคือพระสาวกรูปใดรูปหนึ่งก็สามารถบวชกุลบุตรได้ต่อมาทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทโดยสงฆ์คือให้ทำเป็นสังฆกรรมที่เรียกว่าแบบญัตติจตุตถกรรมวาจาจึงเลิกวิธีบวชพระแบบติสรณคมนูปสัมปทาแต่ทรงอนุญาตให้ใช้วิธีนี้บวชสามเณรซึ่งถือปฏิบัติกันมาตราบเท่าทุกวันนี้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ติสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนูปสัมปทาการบวชเป็นภิกษุโดยการรับไตรสรณคมน์
ตู่พุทธพจน์จัดเป็นการกระทำที่ไม่เหมาะไม่ควรเป็นกรรมหนักคล้ายกับกล่าวตู่พระพุทธเจ้าด้วยคำไม่จริงไรงั้นเลยหล่ะค่ะหรือนำมาอ้างผิดๆถูกๆชื่อว่าตู่พุทธพจน์ได้ทั้งสิ้นเรียกการตู่พุทธพจน์แบบนี้อีกอย่างหนึ่งว่าจับใส่พระโอษฐ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตู่พุทธพจน์ตู่พุทธพจน์ตู่พุทธพจน์
ตู่พุทธพจน์หมายถึงการอ้างพระพุทธพจน์ผิดๆถูกๆใช้เรียกการที่พูดหรือเขียนข้อความหรือข้อธรรมไปตามความคิดเห็นของตนเองแล้วอ้างว่านี่เป็นพระพุทธพจน์เป็นคำที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้จะอ้างด้วยไม่รู้ด้วยเข้าใจผิดหรือด้วยจงใจก็ตามหากข้อที่อ้างถึงนั้นมิใช่พระพุทธพจน์มิใช่พระดำรัสของพระพุทธเจ้าหรือใช่บ้างไม่ใช่บ้างหรือนำมาอ้างผิดๆถูกๆชื่อว่าตู่พุทธพจน์ได้ทั้งสิ้นเรียกการตู่พุทธพจน์แบบนี้อีกอย่างหนึ่งว่าจับใส่พระโอษฐ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตู่พุทธพจน์ตู่พุทธพจน์ตู่พุทธพจน์
นรกภูมิเปรตภูมิอสูรกายภูมิเดรัจฉานภูมิทุคติภูม
ปัจจุบันนี้ตักศิลาอยู่ในเขตประเทศปากีสถานตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงอิสลามาบัดคงเหลือแต่ซากเมืองให้ได้เห็นมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญคือพิพิธภัณฑ์ตักศิลาซึ่งได้เก็บรวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับความเป็นอยู่และภูมิปัญญาของชาวตักศิลายุคต่างๆเอาไว้อย่างเป็นระบบระเบียบรวมถึงซากสถูปเจดีย์วัดวาอารามแลปฏิมากรรมแบบศิลปะคันธาระจำนวนมากอันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของผู้คนจนรัฐบาลปากีสถานได้อนุรักษ์ไว้เป็นโบราณสถานภายใต้การสนับสนุนขององค์การยูเนสโกตักศิลาเมืองตักศิลาตักศิลาเมืองตักศิลาประเทศปากีสถาน
ผมเกสาหนึ่งในอวัยวะ๕อย่างที่ใช้ในตจปัญจกกรรมฐาน
ฟันทันตาหนึ่งในอวัยวะ๕อย่างที่ใช้ในตจปัญจกกรรมฐาน
ภวตัณหาคือความอยากทางจิตใจเมื่อได้สิ่งนั้นมาแล้วไม่ต้องการให้มันเปลี่ยนแปลง
ภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหาไม่เปลี่ยนแปลง
มนุสสภูมิจาตุมหาราชิกาดาวดึงส์ดุสิตยามานิมมานรดีปรมิตวสวัตตีสุคติภูมิ
มากจากตถาคตบวกครรภะค่ะคตาคตแปลว่าเสด็จไปดีแล้วซึ่งโดยปกติจะใช้กับพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้นค่ะส่วนคำว่าครรภะหรือคัพภะนั้นภาษาไทยใช้ในความหมายว่าครรภ์หรือท้องแต่สำหรับความหมายโดยรากศัพท์มี๒อย่างค่ะคือที่เก็บซ่อนและอีกความหมายคือที่รวมค่ะดังนั้นตถาคตคัพภะความหมายโดยรากศัพท์คือที่รวมหรือที่เก็บแห่งพระพุทธเจ้าหรือหากแปลโดยความหมายอย่างง่ายๆก็คือพระพุทธเจ้าที่อยู่ในท้องน่ะค่ะพระอาจารย์วีรชัยวีรชโยวัดพระธรรมกายชมรมพุทธเบญจจินดา๑๙สิงหาคม๒๕๕๗ตถาคตครรภะ
รูปภูมิหรือรูปโลกแบ่งเป็น๑๖ชั้นเป็นที่สถิตของพระพรหมรูปภูมิ
สมัยต่อมามีจีวรหลายประเภทเกิดขึ้นภิกษุทั้งหลายไม่แน่ใจว่าจีวรชนิดใดที่ทรงอนุญาตจึงกราบทูลเรื่องนั้นต่อพระศาสดาพระพุทธองค์ทรงอนุญาตจีวร๖ชนิดคือจีวรทำด้วยเปลือกไม้ทำด้วยฝ้ายทำด้วยไหมทำด้วยขนสัตว์ทำด้วยป่านทำด้วยของเจือกันผ้าที่ใช้ทอจีวรไตรจีวรทรงอนุญาตจีวร๖ชนิด
หนังตโจหนึ่งในอวัยวะ๕อย่างที่ใช้ในตจปัญจกกรรมฐาน
หมายถึงกายแห่งพุทธะหน่อเนื้อแห่งพุทธะหรือธรรมกายซึ่งอยู่ภายในของมนุษย์ทุกคนค่ะพระอาจารย์วีรชัยวีรชโยวัดพระธรรมกายชมรมพุทธเบญจจินดา๑๙สิงหาคม๒๕๕๗ตถาคตครรภะ
หมายถึงการอุปสมบทเป็นภิกษุแบบหนึ่งในพระพุทธศาสนากล่าวคือในสมัยต้นพุทธกาลพระพุทธเจ้าประทานอุปสมบทเองเรียกว่าเอหิภิกขุอุปสัมปทาต่อมาทรงอนุญาตให้พระสาวกบวชกุลบุตรให้เป็นภิกษุได้โดยวิธีให้กุลบุตรนั้นรับไตรสรณคมน์เท่านั้นซึ่งการบวชแบบนี้สำเร็จได้โดยบุคคลคือพระสาวกรูปใดรูปหนึ่งก็สามารถบวชกุลบุตรได้ต่อมาทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทโดยสงฆ์คือให้ทำเป็นสังฆกรรมที่เรียกว่าแบบญัตติจตุตถกรรมวาจาจึงเลิกวิธีบวชพระแบบติสรณคมนูปสัมปทาแต่ทรงอนุญาตให้ใช้วิธีนี้บวชสามเณรซึ่งถือปฏิบัติกันมาตราบเท่าทุกวันนี้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ติสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนูปสัมปทาทรงอนุญาตวิธีนี้บวชสามเณร
อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้นเช่นต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารและวัดเบญจมบพิตรซึ่งปลูกในสมัยรัชกาลที่๕เป็นต้นต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นพระศรีมหาโพธิ์สืบหน่อมาจากต้น
อรูปภูมิหรืออรูปโลกแบ่งเป็น๔ชั้นเป็นที่สถิตของพระพรหมระดับสูงซึ่งไม่มีรูปกายอรูปภูมิ
เมืองตักศิลาถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่ดึกดำบรรพ์เป็นนครหลวงแห่งแคว้นคันธาระเป็นหนึ่งในบรรดา๑๖แคว้นของชมพูทวีปที่สถาปนาขึ้นโดยชาวอารยันมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำแคว้นและรุ่งเรืองมานับพันปีก่อนพุทธกาลนั้นมีความรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชพระองค์ได้สร้างตักศิลาให้มีชื่อเสียงกิตติศัพท์ขจรขจายไปทั่วพร้อมๆกับการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาต่อมาตักศิลาก็ต้องตกอยู่ภายใต้อารยธรรมอีกมากมายต่อๆมาเช่นอารยธรรมกรีกโดยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชและอารยธรรมฮินดูอีกหลายราชวงศ์แต่กระนั้นเลยตักศิลาก็ยังแสดงความเจิดจรัสแห่งพระพุทธศาสนาในคริสต์ศตวรรษที่๕ชนชาติเฮพธาไลต์ได้ยกทัพมาตีอินเดียและทำลายพระพุทธศาสนาทำให้เมืองตักศิลาพินาศสาบสูญแต่บัดนั้นตักศิลาเมืองตักศิลาตักศิลาเมืองตักศิลานครหลวงแคว้นคันธาระ
เล็บนขาหรือเล็บหนึ่งในอวัยวะ๕อย่างที่ใช้ในตจปัญจกกรรมฐาน
แน่แน่อาหารประณีตค่ะและก็ไม่เป็นอาหารที่มีรสหวานจัดเค็มจัดมีไขมันสูงและขนมหวานที่จะทำให้พระสงฆ์มีภาวะอ้วนเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างไขมันในเลือดสูงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานแหละค่ะตักบาตรตักบาตรบุญ
ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี๓ต้นด้วยกันคือต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยาต้นพระศรีมหาโพธิ์เมืองอนุราธปุระและต้นอานันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหาวิหารแต่ต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมืองอนุราธปุระที่นำหน่อพันธ์มาจากพุทธคยาได้รับการเคารพนับถือและปฏิบัติบูชาด้วยความเคารพอย่างสูงมาตลอดตั้งแต่สองพันปีโดยไม่ขาดช่วงมีการทำกำแพงทองคำและมีชาวพุทธผู้ศรัทธามาทำการสักการะตลอดเวลาซึ่งต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พุทธคยาที่ถูกทำลายและล้มลงตามธรรมชาติหลายครั้งและต้นอานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ขาดช่วงการดูแลจากชาวพุทธหลังจากพระพุทธศาสนาเสื่อมไปจากอินเดียต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นพระศรีมหาโพธิ์ในปัจจุบัน
ในพจนานุกรมฉบับมหายานยังได้อธิบายตถาคตคัพภะไว้ว่ากิเลสซึ่งมีอยู่ในสรรพสัตว์ทั้งหลายนั้นภายในกิเลสได้ซ่อนธาตุแท้ความบริสุทธิ์ของธรรมกายตถาคตไว้แม้ว่าตถาคตคัพภะจะถูกจะถูกเก็บไว้ภายใต้กิเลสนั้นแต่กิเลสนั้นก็ไม่ได้ทำให้แปดเปื้อนจึงยังคงเต็มไปด้วยความบริสุทธิ์และความเป็นนิรันดร์ไม่มีการเปลี่ยนแปลงค่ะพระอาจารย์วีรชัยวีรชโยวัดพระธรรมกายชมรมพุทธเบญจจินดา๑๙สิงหาคม๒๕๕๗ตถาคตครรภะ
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ