| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     พยาบาทให้ควบคุมคุมด้วยศีล๕ข้อ๑ไม่ฆ่าสัตว์ศีล๕ที่สามารถควบคุมพยาบาทได้พยาบาทพยาบาทศีล๕ข้อ๑

     ร่างกายนี้มีอาหารเป็นที่ตั้งดำรงอยู่ได้เพราะอาศัยอาหารไม่มีอาหารดำรงอยู่ไม่ได้แม้ฉันใดนิวรณ์ทั้งห้าก็มีอาหารเป็นที่ตั้งดำรงอยู่ได้เพราะอาศัยอาหารไม่มีอาหารดำรงอยู่ไม่ได้ฉันนั้นเหมือนกันอาหารของนิวรณ์ในที่นี้หมายถึงปัจจัยอันนำมาซึ่งผลคือนิวรณ์ซึ่งอาหารของนิวรณ์ทั้งหมดนั้นถ้าสังเกตดูจะพบว่ามีการกระทำในใจโดยไม่แยบคายหรืออโยนิโสมนสิการเป็นองค์ประกอบด้วยเสมออาหารของนิวรณ์นิวรณ์นิวรณ์เกิด

     วิจารณ์แก้วิจิกิจฉาองค์ฌานที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์วิจิกิจฉาวิจิกิจฉาวิจารณ์

     วิจิกิจฉาความไม่แน่ใจลังเลใจสงสัยกังวลกล้าๆกลัวๆไม่เต็มที่ไม่มั่นใจวิจิกิจฉาวิจิกิจฉาวิจิกิจฉาไม่ไรนี่คะ

     วิจิกิจฉาให้ควบคุมคุมด้วยศีล๕ข้อ๔ไม่พูดเท็จศีล๕ที่สามารถควบคุมวิจิกิจฉาได้วิจิกิจฉาวิจิกิจฉาศีล๕ข้อ๔

     วิตกแก้ถีนมิทธะองค์ฌานที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์ถีนมิทธะถีนมิทธะวิตก

     วิริยะแก้ถีนมิทธะพละ๕ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์ถีนมิทธะถีนมิทธะวิริยะ

     ศรัทธาแก้วิจิกิจฉาพละ๕ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์วิจิกิจฉาวิจิกิจฉาศรัทธา

     สติแก้พยาบาทพละ๕ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์พยาบาทพยาบาทสติ

     สมาธิแก้อุทธัจจะกุกกุจจะพละ๕ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์อุทธัจจะกุกกุจจะอุทธัจจะกุกกุจจะสมาธิ

     สิ่งที่เป็นอาหารให้กามฉันท์ที่ยังไม่เกิดเกิดขึ้นหรือกามฉันท์ที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้นได้แก่การมีอยู่หรือการกระทำในใจโดยไม่แยบคายอโยนิโสมนสิการในสิ่งสวยๆงามๆศุภนิมิตหรืออารมณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากได้พบสิ่งสวยๆงามๆอาหารของกามฉันท์กามฉันทะอาหารของกามฉันท์อาหาร

     สิ่งที่เป็นอาหารให้ถีนมิทธะที่ยังไม่เกิดเกิดขึ้นหรือถีนมิทธะที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้นได้แก่การมีอยู่ของสิ่งเหล่านี้หรือการกระทำในใจโดยไม่แยบคายอโยนิโสมนสิการในสิ่งเหล่านี้คือ๑ความไม่ยินดีในที่อันสงัดหรือในธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศล๒ความเกียจคร้าน๓ความบิดกายด้วยอำนาจกิเลสบิดร่างกายเอียงไปมารู้สึกไม่สบายด้วยอำนาจกิเลส๔ความเมาอาหาร๕ความที่ใจหดหู่อาหารของถีนมิทธะถีนมิทธะอาหารของถีนมิทธะอาหาร

     สิ่งที่เป็นอาหารให้พยาบาทที่ยังไม่เกิดเกิดขึ้นหรือพยาบาทที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้นได้แก่การมีอยู่หรือการกระทำในใจโดยไม่แยบคายอโยนิโสมนสิการในสิ่งที่ทำให้เกิดความขุ่นเคืองใจขัดใจ(ปฏิฆนิมิต)อาหารของพยาบาทพยาบาทอาหารของพยาบาทอาหาร

     สิ่งที่เป็นอาหารให้วิจิกิจฉาที่ยังไม่เกิดเกิดขึ้นหรือวิจิกิจฉาที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้นได้แก่การมีอยู่หรือการกระทำในใจโดยไม่แยบคาย(อโยนิโสมนสิการ)ในสิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งความสงสัยอาหารของวิจิกิจฉาอาหารของวิจิกิจฉาวิจิกิจฉาอาหารของวิจิกิจฉาอาหาร

     สิ่งที่เป็นอาหารให้อุทธัจจกุกกุจจะที่ยังไม่เกิดเกิดขึ้นหรืออุทธัจจกุกกุจจะที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้นได้แก่การมีอยู่หรือการกระทำในใจโดยไม่แยบคายในความไม่สงบใจเปรียบเสมือนกองไฟที่คุกร่นแม้ไม่เห็นเปลวไฟแล้วเหลือแต่ถ่านดำๆก็ยังมีความร้อนออกมาอยู่ให้คนที่นั่งผิงไฟรู้สึกร้อนได้อาหารของอุทธัจจกุกกุจจะอุทธัจจะกุกกุจจะอาหารของอุทธัจจกุกกุจจะอาหาร

     สุขแก้อุทธัจจะกุกกุจจะองค์ฌานที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์อุทธัจจะกุกกุจจะอุทธัจจะกุกกุจจะสุข

     อุทธัจจะกุกกุจจะความคิดซัดส่ายตลอดเวลาไม่สงบนิ่งอยู่ในความคิดใดๆอุทธัจจะกุกกุจจะอุทธัจจะกุกกุจจะอุทธัจจะกุกกุจจะไม่ไรนี่คะ

     อุทธัจจะกุกกุจจะให้ควบคุมคุมด้วยศีล๕ข้อ๒ไม่ถือเอาสิ่งของที่เขาไม่ได้ให้ศีล๕ที่สามารถควบคุมอุทธัจจะกุกกุจจะได้อุทธัจจะกุกกุจจะอุทธัจจะกุกกุจจะศีล๕ข้อ๒

     เอกัคคตาแก้กามฉันทะองค์ฌานที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์กามกามเอกัคคตา

     ให้ภาวนากสิน๖คือปฐวีกสินอาโปกสินวาโยกสินเตโชกสินอากาสกสินอาโลกกสินเพื่อเพิ่มกำลังสมาธิกรรมฐานที่เหมาะสมแก่อุทธัจจะกุกกุจจะภาวนากสิน๖กรรมฐานเพิ่มกำลังสมาธิ

     ให้ภาวนากายคตาสติอสุภะ๑๐อาหาเรปฏิกูลสัญญาเพื่อทำลายความหื่นของค่ะกรรมฐานที่เหมาะสมแก่กามฉันทะกามฉันทะกรรมฐานอสุภ

     ให้ภาวนาจตุตธาตุววัตถานพิจารณาธาตุ๔อานาปานสติมรณานุสสติเพื่อละความสงสัยกรรมฐานที่เหมาะสมแก่วิจิกิจฉาภาวนาจตุตธาตุววัตถานกรรมฐานกำจัดความสงสัย

     ให้ภาวนาอนุสสติ๗คือพุทธานุสสติธัมมานุสติสังฆานุสสติสีลานุสสติจาคานุสติเทวตานุสติอุปสมานุสสติและอาโลกสัญญาแสงสว่างเป็นอารมณ์เพื่อเสริมสร้างศรัทธาและความเพียรกรรมฐานที่เหมาะสมแก่ถีนมิทธะภาวนาอนุสสติ๗กรรมฐานสร้างศรัทธาและความเพียร



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ