ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ถ้างั้นก่อนทานให้ตั้งจิตอุทิศส่วนกุศลให้สัตว์นั้นและก็บอกเค้าไปเลยค่ะว่าทานเค้าเพียงแค่จะให้มีชีวิตและมีแรงที่จะทะนุบำรุงพุทธศาสนาต่อไปค่ะดีไม๊คะ
ทานเนื้อสัตว์
กินเนื้อ
ทานเนื้อสัตว์
บำรุงพุทธ
ถ้างั้นย่นย่อที่สุดสุดเหลือ๓ข้อพอไหวไหมหล่ะคะ
ศีล
ศีล
ศีล
๓ข้อ
ก็ถ้าเหลือแค่๓ข้อจะยอมบวชไหมหล่ะ
สถานะสงสัย
ถ้ารักษาให้ไม่ขาดไม่ยากหรอกค่ะ
ความยากในการรักษาศีล
รักษาศีล
การรักษาศีล
ไม่ยาก
นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนามาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานาเวรมณีสิกฺขาปทํสมาทิยามิเว้นจากการดิ้นเต้นกระจายเล่นดนตรีและแต่งด้วยน้ำหอมดอกไม้เครื่องประดับเครื่องเสริมสวย
ศีล๘ข้อ๗
ศีล๘
ศีล๘
ศีลขั้นต่ำของพระอนาคามี
นับจากนี้ไม่ทำความชั่วทำแต่ความดีสุดท้ายก็ทำใจให้ผ่องใสค่ะ
ศีล
ศีล
ศีล
ใจผ่องใส
ประมาณว่าไม่ฆ่าสัตว์ก็จะทำให้อายุยืนยาวไม่ลักทรัพย์ทรัพย์สินก็จะไม่วิบัติไม่ผิดลูกผิดเมียได้เพศบริสุทธิ์ไม่โกหกได้วาจาสิทธิ์ได้ปากสวยฟันเรียงสวยงามไม่มีกลิ่นไม่เสพสิ่งเสพติดของมึนส์เมาก็จะได้สติครบถ้วนไม่บ้าใบ้ปัญญาอ่อนค่ะ
รักษาศีลกับความเป็นมนุษย์
รักษาศีล
การรักษาศีล
มนุษย์
ปัญจศีลก็ศีล๕หรือเรียกว่าที่เรียกนิจจศีลคือถือเนื่องนิจจ์
ปาณาติปาตาเวรมณีสิกฺขาปทํสมาทิยามิเว้นจากการฆ่าสัตว์
ศีล๘ข้อ๑
ศีล๘
ศีล๘
ศีลขั้นต่ำของพระอนาคามี
ปาณาติปาตาเวรมณีไม่ฆ่าไม่ทำร้ายไม่เบียดเบียนชีวิตไม่ตัดลมหายใจผู้อื่นค่ะ
ศีล๕ข้อ๑
ปาณา
ศีล๕ข้อ๑
ไม่ฆ่าสัตว์
พระองค์ทรงให้หลักไว้ว่าการฆ่าใดเป็นบาปหรือไม่นั้นให้ดูองค์ประกอบดังนี้ค่ะ๑สัตว์นั้นมีชีวิต๒รู้ว่าสัตว์นั้นยังมีชีวิตอยู่๓มีเจตนาที่จะฆ่า๔มีความพยายามฆ่าหรือบอกให้ผู้อื่นฆ่า๕การพยายามนั้นสําเร็จทําให้สัตว์น้ันตายได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒
การฆ่าสัตว์ที่จะเป็นปาณาติบาต
ศีล๕ข้อ๑
ศีล๕ข้อ๑
ไม่ฆ่าสัตว์
ภิกษุวินัย
มุสาวาทาเวรมณีสิกฺขาปทํสมาทิยามิเว้นจากการพูดปดพูดส่อเสียดพูดคำหยาบพูดเพ้อเจ้อ
ศีล๘ข้อ๔
ศีล๘
ศีล๘
ศีลขั้นต่ำของพระอนาคามี
มุสาวาทาเวรมณีไม่โกหกหลอกลวงไม่พูดหยาบคายไม่พูดว่าร้ายส่อเสียดค่ะ
ศีล๕ข้อ๔
มุสา
ศีล๕ข้อ๔
ไม่พูดโกหกไม่พูดคำหยาบ
ระดับแห่งศีลที่ต่างกันเพราะระดับของทบาทหน้าที่ต่างกันนั่นคือระดับของศีลคือระดับขั้นของการใช้ปัจจัยบริโภคเท่าที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตศีล๕คือเสพโดยไม่เบียดเบียนอาชีวัฏฐมกศีลแสวงหาทรัพย์โดยไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนจากการแสวงหาทรัพย์นั้นอุโบสถศีลคือการไม่เสพกามคุณเพราะมนุษย์ไม่เสพกามคุณก็ไม่เสียชีวิตเพราะอดตายทศศีลคือการใช้ชีวิตอย่างนักบวชโดยแท้คือไม่สะสมลาภเงินทองอย่างฆราวาสแต่ดำรงชีวิตได้ด้วยการขอทำให้ระวังในการปฏิพฤติให้ดีให้สมกับที่ชาวบ้านได้ให้ภิกษุณีวินัยและภิกษุวินัยคือการดำรงค์ชีวิตที่ประหยัดเหมาะสมคุ้มค่าไม่เดือดร้อนทายกผู้ให้รักษาปัจจัยที่ทายกให้แล้วพอเพียงเท่าที่มีมีระเบียบที่ไม่หนักใจผู้ให้ธุดงค์แม้จะไม่จัดเป็นศีลหรือวินัยเพราะไม่ใช่สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงบังคับให้ทำแต่ก็ไม่ทรงห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ยากและลำบากทรงสรรเสริญผู้ปฏิบัติจัดเป็นการควบคุมการใช้ปัจจัยสี่ที่สุดยอดที่สุด
ศีล
ศีล
ศีล
รักษาศีลถ้าศีล๕นี่ก็ได้ความเป็นมนุษย์หน่ะค่ะ
ยิ่งรักษาได้สมบูรณ์มากก็จะยิ่งได้คุณสมบัติความเป็นมนุษย์ที่มากตามไปด้วยค่ะ
อานิสงส์
รักษาศีล
อานิสงส์
ความเป็นมนุษย์
วิกาลโภชนาเวรมณีสิกฺขาปทํสมาทิยามิเว้นจากการทานอาหารในยามวิกาลหรือหลังเที่ยงถึงวันใหม่
ศีล๘ข้อ๖
ศีล๘
ศีล๘
ศีลขั้นต่ำของพระอนาคามี
ศีลคือข้อปฏิบัติตนขั้นพื้นฐานในทางพระพุทธศาสนาเพื่อควบคุมความประพฤติทางกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงามมีความปกติสุขทำให้เกิดความสงบสุขและไม่มีการเบียดเบียนซึ่งกันและกันในสังคมค่ะ
ศีล
ศีล
ศีล
ทำให้ได้ความเป็นมนุษย์
ศีลแบ่งเป็น๓ระดับคือจุลศีล(ศีลอย่างน้อย)ได้แก่คหัฏฐศีลทั้ง๒คือศีล๕และอาชีวัฏฐมกศีลมัชฌิมศีล(ศีลอย่างกลาง)ได้แก่บรรพชาศีลทั้ง๒คือได้แก่อัฏฐศีลและทสศีลมหาศีล(ศิลอย่างสูง)ได้แก่อุปสมบททั้ง๒คือภิกษุณีวินัยและภิกษุวินัย
ศีล
ศีล
ศีล
ศีลแบ่งเป็น๓ระดับคือจุลศีล(ศีลอย่างน้อย)ได้แก่คหัฏฐศีลทั้ง๒คือศีล๕และอาชีวัฏฐมกศีลมัชฌิมศีล(ศีลอย่างกลาง)ได้แก่บรรพชาศีลทั้ง๒คือได้แก่อัฏฐศีลและทสศีลมหาศีล(ศิลอย่างสูง)ได้แก่อุปสมบททั้ง๒คือภิกษุณีวินัยและภิกษุวินัย
ศีล
ศีล
ศีล
ศีล๒๒๗
ศีลกุศลกรรมบท๑๐หรือเรียกว่าอาทิพรหมจริยาศีลหรือเรียกอีกอย่างว่านวศีล
ศีลจะขาดนี่เพราะใจอย่างเดียวไม่ได้นะค่ะเช่นนึกฆ่าสัตว์ยังไม่ได้ลงมือทำถือว่าศีลยังไม่ขาดเพราะยังไม่ได้ประกอบด้วยกายวาจาแต่ถ้าฆ่าด้วยกายหรือใช้เขาฆ่าด้วยวาจาของอย่างนี้ศีลขาดเป็นความผิดบาปค่ะส่วนเรื่องศีลด่างศีลพร้อยนี่ก็อีกเรื่องนึงนะคะ
ศีล
ศีล
ศีล
ศีลสำหรับพระภิกษณีุมีในภิกขุนีปาฏิโมกข์,เป็นวินัยของภิกษุณีสงฆ์ทำผิดถือว่าเป็นอาบัติสามารถแบ่งออกได้เป็นลำดับขั้นตั้งแต่ขั้นรุนแรงจนกระทั่งเบาที่สุดดังนี้๑ปาราชิก๘ข้อ๒สังฆาทิเสส๑๗ข้อ๓นิสสัคคิยปาจิตตีย์๓๐ข้อ๔ปาจิตตีย์๑๖๖ข้อ ๕ปาฏิเทสนียะ๘ข้อ๖เสขิยะ๗๕ข้อโดยแบ่งเป็น๔หมวดคือสารูป๒๖ข้อโภชนปฏิสังยุตต์๓๐ข้อธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์๑๖ข้อและปกิณณกะอีก๓ข้อสุดท้าย๗อธิกรณสมถะ๗ข้อรวมทั้งหมดแล้ว๓๑๑ข้อผิดข้อใดข้อหนึ่งถือว่าต้องอาบัติการแสดงอาบัติสามารถกล่าวกับพระภิกษุณีรูปอื่นเพื่อเป็นการแสดงตนต่อความผิดได้แต่ถ้าถึงขั้นปาราชิกก็ต้องสึกอย่างเดียวค่ะ
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ