ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ความยึดมั่นถือมั่นในทิฏฐิคือยึดมั่นในความเห็นความเชื่อความคิดหรือในทฤษฎีของตัวของตนจึงไม่เชื่อหรือแอบต่อต้านในสิ่งต่างๆที่ขัดแย้งหรือไม่ลงรอยไปกับความคิดความเห็นความเชื่อหรือทฤษฎีของตัวของตนเหล่านั้นโดยไม่รู้ตัวดังนั้นจิตจึงไม่ยอมศึกษาหรือพิจารณาอย่างจริงจังในความคิดความเห็นอื่นๆที่ถูกต้องและดีงามแต่ขัดแย้งกับความเชื่อความเห็นเดิมๆของตนเกิดความรู้สึกต่อต้านขัดแย้งไม่พอใจในสิ่งต่างๆที่ไม่ตรงความเชื่อความเข้าใจของตัวของตนโดยไม่รู้ตัวด้วยอวิชชาจึงทำให้ไม่สามารถเห็นหรือเข้าใจในสิ่งต่างๆตามความเป็นจริงที่เป็นไปของธรรมหรือสิ่งนั้นๆได้อย่างปรมัตถ์หรือถูกต้องดีงามค่ะ
ทิฏฐุปาทาน
ทิฏฐุปาทาน
ยึดมั่นตัว
ทิฏฐุปาทาน
คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาลมีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นโกลิยะ๑ในมหาชนบทในสมัยพุทธกาลเป็นเมืองที่ประสูติของพระนางสิริมหามายาผู้เป็นพระราชมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าและเป็นเมืองพี่เมืองน้องในฐานะพระประยูรญาติของศากยวงศ์และโกลิยวงศ์แห่งแคว้นสักกะ(กรุงกบิลพัสดุ์)และโกลิยะ(กรุงเทวทหะ)เมืองแห่งนี้ปัจจุบันเหลือเพียงซากโบราณสถานอยู่ในเขตประเทศเนปาลติดชายแดนตอนเหนือของประเทศอินเดียยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐานและไม่ห่างจากเมืองนี้มีสังเวชนียสถานที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าลุมพินีวันปรากฏอยู่บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัดเป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญเทวทหะ
เมืองเทวทหะ
เทวทหะ
แคว้นโกลิยะ
เมืองเทวทหะ
ชาติที่๑เพื่อบำเพ็ญเนกขัมมบารมีเป็นชาติแรกในทศชาติชาดกก่อนที่จะมาตรัสรู้เป็นสมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้านามพระสมณโคดมในชาตินี้พระองค์ทรงบำเพ็ญเนกขัมมบารมีหมายถึงการละทิ้งจากกามคุณทั้ง๕
เตมีย์ใบ้ชาดก
เตมีย์ใบ้ชาดก
เตมีย์ชาดก
เนกขัมมบารมี
ชาติที่๑๐เพื่อบำเพ็ญทานบารมีสำหรับชาติสุดท้ายเป็นชาติที่สำคัญและบำเพ็ญบารมีอันยิ่งใหญ่คือเวสสันดรชาดกหรือเรื่องพระเวสสันดร
เวสสันดรชาดก
เวสสันดรชาดก
เวสสันดรชาดก
ทานบารมี
ชาติที่๒เพื่อบำเพ็ญวิริยบารมีมหาชนกชาดกพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระชนกกุมารโอรสพระเจ้าอริฏฐชนกกษัตริย์เมืองมิถิลาขณะที่เสด็จลงสำเภาไปค้าขายเกิดพายุใหญ่เรือแตกกลางมหาสมุทรพระมหาชนกทรงว่ายน้ำโต้คลื่นอยู่ในมหาสมุทรถึง๗วันนางเมขลาเห็นจึงพูดลองใจว่าให้พระองค์ยอมตายเสียเสียตามบุญตามกรรมแต่พระองค์ก็ไม่ทรงฟังยังพยายามว่ายน้ำโต้คลื่นอยู่ตามเดิมนางเมขลาเห็นเลื่อมใสในความพยายามจึงอุ้มพระองค์เหาะไปส่งที่ฝั่งพระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญวิริยบารมี
มหาชนกชาดก
มหาชนกชาดก
ชนกชาดก
วิริยบารมี
ชาติที่๓เพื่อบำเพ็ญเมตตาบารมีสุวรรณสามชาดกพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพรหมฤๅษีต้องรับภาระเลี้ยงดูบิดามารดาผู้ตาบอดวันหนึ่งกบิลยักษ์แผลงศรมาถูกได้รับบาดเจ็บแสนสาหัสแต่ก็ไม่ได้โกรธกลับแสดงเมตตาจิตต่อและเทศนาทศพิธราชธรรมให้กบิลยักษ์ฟังด้วยอำนาจแห่งเมตตาธรรมทำให้พระสุวรรณสามหายเจ็บปวดรอดชีวิตมาได้และบิดามารดาก็กลับมีจักษุดีพระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญเมตตาบารมี
สุวรรณสามชาดก
สุวรรณสามชาดก
สุวรรณสามชาดก
เมตตาบารมี
ชาติที่๔เพื่อบำเพ็ญอธิษฐานบารมีเนมิราชชาดกเป็นชาติที่๔ของทศชาติชาดกพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเนมิราชโอรสเจ้าเมืองมิถิลาโปรดการบริจาคทานและรักษาพรหมจรรย์พระอินทร์ทรงพอพระทัยถึงกับให้พระมาตุลีนำทิพยรถมารับไปเที่ยวเมืองสวรรค์และเมืองนรกแล้วเชิญให้ครองเมืองสวรรค์พระเนมิราชไม่ทรงรับและเสด็จกลับบ้านเมืองของพระองค์พอทรงชราก็ออกผนวชพระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญอธิษฐานบารมี
เนมิราชชาดก
เนมิราชชาดก
เนมิราชชาดก
อธิษฐานบารมี
ชาติที่๕เพื่อบำเพ็ญปัญญาบารมี
มโหสถชาดก
มโหสถชาดก
มโหสถชาดก
ปัญญาบารมี
ชาติที่๖เพื่อบำเพ็ญศีลบารมี
ภูริทัตชาดก
ภูริทัตชาดก
ภูริทัตชาดก
ศีลบารมี
ชาติที่๗เพื่อบำเพ็ญขันติบารมี
จันทชาดก
จันทชาดก
จันทชาดก
ขันติบารมี
ชาติที่๘เพื่อบำเพ็ญอุเบกขาบารมี
นารทชาดก
นารทชาดก
นารทชาดก
อุเบกขาบารมี
ชาติที่๙เพื่อบำเพ็ญสัจจบารมี
วิทูรชาดก
วิทูรชาดก
วิทูรชาดก
สัจจบารมี
ทมะแปลว่าการรู้จักข่มจิตข่มใจตนเองทมะ
ทมะ
ทมะ
ทมะ
รู้จักข่มจิต
ทศชาติชาดกเป็นชาดกที่สำคัญกล่าวถึง๑๐ชาติสุดท้ายก่อนจะเสวยพระชาติมาเกิดเป็นเจ้าชายสิทธัตถะแห่งศากยวงศ์และได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าทศชาติชาดกเทโวโรหณะ
ทศชาติชาดก
ทศชาติชาดก
ทศชาติชาดก
๑๐ชาติสุดท้าย
ทศพิธราชธรรมหรือราชธรรม๑๐คือจริยวัตร๑๐ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์หรือเป็นคุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมืองให้มีความเป็นไปโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดีซึ่งความจริงแล้วไม่ได้จำเพาะเจาะจงสำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือผู้ปกครองแผ่นดินเท่านั้นบุคคลธรรมดาที่เป็นผู้บริหารระดับสูงในทุกองค์กรก็พึงใช้หลักธรรมเหล่านี้ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
คุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมือง
ทำวัตรหมายถึงการทำกิจที่พึงทำตามหน้าที่หรือตามธรรมเนียมเป็นคำย่อมาจากคำว่าทำกิจวัตรประจำอันเป็นธรรมเนียมปกติเรียกการไหว้พระสวดมนต์ของพระตามปกติในตอนเช้าและตอนเย็นหรือตอนค่ำว่าทำวัตรเช้าและทำวัตรเย็นการทำวัตรเช้าและทำวัตรเย็นเป็นธรรมเนียมเลียนแบบมาแต่สมัยพุทธกาลซึ่งพระสงฆ์จะเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อฟังโอวาทเป็นกิจวัตรประจำการทำวัตรมีจุดมุ่งหมายอย่างหนึ่งคือเพื่อเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้านั่นเองทำวัตรอีกความหมายหนึ่งคือการที่ภิกษุสามเณรนำธูปเทียนแพไปสักการะพระเถระผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือในโอกาสต่างๆเช่นเพื่อขอลาสิกขาเพื่อขอลาไปอยู่ที่อื่นเพื่อขอขมาในเทศกาลเข้าพรรษาเพื่อรายงานตัวการทำวัตรผู้ใหญ่แบบนี้ถือป็นธรรมเนียมของพระสงฆ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ทำวัตร
ทำวัตร
ทำวัตร
ทำวัตร
กิจวัตร
ทิฏฐิวิสุทธิหมายถึงความหมดจดแห่งทิฏฐิคือความรู้เข้าใจมองเห็นนามรูปตามสภาวะที่เป็นจริงเห็นรูปธาตุและนามธาตุเป็นคนละธาตุกันอย่างชัดเจนเป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่ารูปขันธ์นี้เป็นเราเสียได้เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิดค่ะ
ทิฏฐิวิสุทธิ
ทิฏฐิวิสุทธิ
เข้าใจถูก
ทิฏฐิวิสุทธิ
ทิฐิอ่านว่าทิดถิแปลว่าความเห็นพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ทิฐิ
ความหมายของทิฐิ
ทิฐิ
ความเห็น
ทิฐิ
ทิฐิในพระพุทธศาสนาใช้ในความหมายเดียวกับมิจฉาทิฐิคือความเห็นผิดมี๒ประการได้แก่สัสสตทิฐิ(ความเห็นว่าเที่ยง)อุจเฉททิฐิ(ความเห็นว่าขาดสูญ)เป็นต้นหากเป็นความเห็นถูกเรียกว่าสัมมาทิฐิหรือปัญญานอกจากนี้ในภาษาไทยมักใช้ในความหมายว่าความอวดดื้อถือดีความดื้อรั้นความตะแบงทั้งที่รู้ว่าผิดแต่ไม่ยอมรับและไม่ยอมแก้ไขเช่นที่ใช้ว่าเขามีทิฐิมากไม่ยอมลงใครทิฐิมานะของเขาทำให้เขาเข้ากับใครไม่ได้เลยในที่ทำงานพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ทิฐิ
ทิฐิ
ทิฐิ
ความเห็นผิด
ทิฐิ
ทุกขตาหรือทุกขลักษณะคืออาการเป็นทุกข์อาการที่ถูกบีบคั้นด้วยการเกิดขึ้นและสลายตัวอาการที่กดดันอาการฝืนและขัดแย้งอยู่ในตัวเพราะปัจจัยที่ปรุงแต่งให้มีสภาพเป็นอย่างนั้นเปลี่ยนแปลงไปจะทำให้คงอยู่ในสภาพนั้นไม่ได้อาการที่ไม่สมบูรณ์มีความบกพร่องอยู่ในตัวอาการที่แสดงถึงความเป็นทุกข์ของขันธ์
ไตรลักษณ์
ทุกขตา
คงสภาพไม่ได้
ทุกขตา
ประโยชน์ปัจจุบันค่ะ_?%%%%%%%ทิฏฐธัมมิกัตถะประโยชน์ทิฏฐธัมมิกัตถะปัจจุบัน
วิธีที่จะเพิ่มพูนความรู้ความสามารถและความดีในเรื่องใดๆก็ตามมีแนวทางการปฏิบัติอยู่๔ขั้นตอนคือ๑ต้องหาครูดีให้เจอคือการที่เราสนใจในเรื่องใดๆที่จะเพิ่มพูนความรู้ให้กับตนเองก็ตามผู้นั้นจะต้องหาคนที่มีความรู้ความสามารถในด้านนั้นๆมาเป็นครูให้ได้ก่อนไม่เช่นนั้นแล้วโอกาสที่จะประสบความล้มเหลวก็มีมากเช่นกัน๒ต้องฟังคำครูคือต้องตั้งใจฟังและเมื่อสงสัยก็ซักถามทันทีจนกระทั่งจับประเด็นให้ได้ว่าสิ่งที่ครูสอนในเรื่องนั้นๆมีหลักการวิธีการอย่างไรบ้างอย่างชัดเจนเพื่อจะได้ไม่ผิดพลาดเวลานำไปปฏิบัติ๓ต้องตรองคำครูคือนำประเด็นที่ครูอธิบายมาพิจารณาหาเหตุผลในทุกๆด้านทั้งในด้านของความสำคัญวิธีการใช้งานข้อควรระวังตลอดจนผลได้ผลเสียที่จะตามมาในภายหลังให้ชัดเจนมากที่สุดเท่าที่จะทำได้๔ต้องทำตามคำครูคือเมื่อพิจารณาคำครูชัดเจนดีแล้วว่าทำอย่างถูกต้องและเหมาะสมนั้นทำอย่างไรแล้วก็ลงมือปฏิบัติด้วยความรอบคอบระมัดระวังทำอย่างมีสติเพื่อที่จะไม่ประมาทพลั้งเผลอจนอาจเกิดความเสียหายตามมาภายหลังได้ทมะ
หลักการฝึกฝนตนเอง
ความรู้
ความรู้
ครูดี
อาหารน้ำเครื่องนุ่งห่มยานพาหนะมาลัยและดอกไม้ของหอมธูปเทียนเครื่องลูบไล้สบู่เป็นต้นที่นอนที่อยู่อาศัยและประทีปไฟหรือไฟฟ้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ไทยทาน
เครื่องไทยธรรมมีอะไรบ้าง
ไทยธรรม
อาหารน้ำเครื่องนุ่งห่มเป็นต้น
ไทยธรรม
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ